Page 155 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 155

้
                              แต่โรงไฟฟานิวเคลียร์ยังไม่สามารถตอบโจทย์ในเรื่องความปลอดภัยได้ ตั้งแต่ความปลอดภัยจาก
                                                           ้
                   เชื้อเพลิงที่น ามาใช้ ความปลอดภัยจากตัวโรงไฟฟา และความปลอดภัยในการจัดการกับกากกัมมันตภาพรังสีที่
                                                 ้
                   เกิดขึ้น  แต่ในแผนพัฒนาก าลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ.2550- 2564 (Power  Development  Plan:  PDP 2007)
                                                     ้
                   กลับก าหนดแล้วว่า จะให้มีการก่อสร้างโรงไฟฟานิวเคลียร์ ในปี พ.ศ.2563
                                                         ้
                                                                      ั
                              ดังนั้น ในขณะที่การก่อสร้างโรงไฟฟานิวเคลียร์ยังมีปญหาอยู่นั้น รัฐบาลยังไม่ควรก าหนดการก่อสร้าง
                         ้
                   โรงไฟฟานิวเคลียร์เอาไว้ในแผน PDP 2007 โดยควรด าเนินการศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะ
                                                                        ้
                   การเปรียบเทียบกับพลังงานหมุนเวียนหรือการจัดการด้านการใช้ไฟฟา (DSM) ทั้งนี้ การตัดสินใจดังกล่าวต้องอยู่บน
                   พื้นฐานของการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากที่สุด
                                                                                               ้
                                                    ้
                          2.)      ในการคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชน มี 2 ขั้นตอนที่ส าคัญ คือ การคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชนเข้าร่วม
                                                                  ้
                                                                                 ้ ่
                                                   ้
                   โครงการ และการลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟาระหว่างผู้ผลิตไฟฟาเอกชนกับการไฟฟาฝายผลิตแห่งประเทศไทย
                                                  ้
                              แม้การคัดเลือกผู้ผลิตไฟฟาเอกชนดังกล่าว จะได้พยายามให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมโดยก าหนดให้
                   รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ของโครงการ ต้องได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
                                                   ้
                   แห่งชาติก่อนการลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟา เพราะเห็นว่าในการจัดท ารายงาน EIA ได้ก าหนดหลักการมีส่วนร่วมของ
                   ประชาชนในการตัดสินใจการด าเนินโครงการไว้อยู่แล้ว
                                                                                              ้
                              อย่างไรก็ตาม การมีส่วนร่วมของประชาชนในกรณีนี้ จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อผู้ผลิตไฟฟาเอกชนดังกล่าว
                                                                                           ้
                                                                              ้
                   ได้ผ่านการคัดเลือกในขั้นตอนแรกแล้ว ซึ่งเท่ากับว่าโครงการก่อสร้างโรงไฟฟาของผู้ผลิตไฟฟาเอกชนรายนั้นได้รับ
                   การตัดสินใจให้ก่อสร้างไปแล้ว การพิจารณารายงาน  EIA  ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติก่อนลงนามใน
                                  ้
                   สัญญาซื้อขายไฟฟา จึงเท่ากับเป็นเพียงการรับรองการมีส่วนร่วมของประชาชนที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ได้มีการ
                                      ้
                   ตัดสินใจก่อสร้างโรงไฟฟาในพื้นที่แล้ว
                                                 ้
                            3)   แม้โครงการโรงไฟฟาขนาดเล็กที่มีก าลังการผลิตไม่เกิน 10 เมกะวัตต์ จะไม่ต้องจัดท ารายงาน
                   การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 แต่ได้
                                         ้
                   ปรากฏข้อเท็จจริงว่าโรงไฟฟาดังกล่าวก็ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนที่อาศัยอยู่ใกล้เคียง ดังนั้น จึงควรก าหนดให้
                                                   ้
                   ก่อนการตัดสินใจด าเนินโครงการโรงไฟฟาขนาดเล็ก ต้องให้มีการจัดท ารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
                   เบื้องต้น (IEE) เป็นขั้นต ่า
                                                                  ้
                                                                                               ้
                                          ้
                              โครงการโรงไฟฟาพลังงานหมุนเวียน เช่น โรงไฟฟาชีวมวล ต้องให้มีการจัดท ามาตรการปองกันและแก้ไข
                   ผลกระทบสิ่งแวดล้อมประกอบการพิจารณาอนุญาตของหน่วยงาน

                          6.1.14  กรณีมลพิษจากอุตสาหกรรม
                             1)   โรงงานอุตสาหกรรมที่ด าเนินการก่อสร้างก่อนได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานต้องถูก
                   ลงโทษ และต้องมีมาตรการให้ผู้ประกอบกิจการระงับการก่อสร้างไว้ก่อนอย่างเคร่งครัด จนกว่าจะได้ด าเนินการให้

                   ถูกต้องตามกฎหมาย
                            2)     ในพื้นที่ที่มีการก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรมอยู่แล้ว และอาจจะมีการก่อสร้างโรงงาน
                   อุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นอีกนั้น ควรจัดให้มีการศึกษาความสามารถในการรองรับมลพิษในพื้นที่นั้น     ในภาพรวมก่อนที่
                   จะอนุญาตให้มีการก่อสร้างโรงงานเพิ่มเติม เพื่อศึกษาว่าพื้นที่ดังกล่าวยังสามารถ รองรับมลพิษที่อาจเกิดขึ้นจากการ

                   ประกอบกิจการโรงงานได้อีกหรือไม่ ไม่ใช่การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเฉพาะโครงการใดโครงการหนึ่งเท่านั้น
                                             ั
                            3)    เนื่องจากในปจจุบันหน่วยงานราชการที่มีอ านาจหน้าที่ในการติดตามตรวจสอบโรงงาน
                                                   ้
                   อุตสาหกรรมว่าได้ปฏิบัติตามมาตรการปองกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมโดยเคร่งครัดหรือไม่นั้น มีก าลัง
                                                                                                     ั
                   เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ ท าให้กรณีร้องเรียนด้านมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรมในหลายกรณีมีสาเหตุของปญหามา






                                                              140
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160