Page 149 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 149
บทที่ 6
สรุปและเสนอแนะ
จากการศึกษารวบรวมวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า
ั่
ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ท าให้เห็นถึงสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยเกี่ยวกับฐานทรัพยากร
้
เห็นถึงความเข้มแข็งของชุมชนในการเข้าปกปองทรัพยากร เห็นถึงแนวทางการพัฒนาที่ไม่สอดคล้องกับชุมชนและ
การใช้ทรัพยากร เห็นถึงการท าหน้าที่ของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ทั้งที่มีหน้าที่อนุญาตให้ประกอบกิจการ ทั้งที่มี
้
หน้าที่คุ้มครองปกปองทรัพยากร เห็นถึงสภาพของการประกอบกิจการของภาคเอกชนที่มีผลส าคัญต่อทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม และเห็นถึงการท างานของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ผ่านคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากร
ั่
น ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งคณะผู้ศึกษาเห็นว่า ควรที่จะน าเสนอแนะถึงข้อด้อยและข้อเด่นเพื่อน ามาปรับปรุง
แก้ไขส าหรับแต่ละภาคส่วนต่อไป จึงมีข้อเสนอแนะ ดังนี้
6.1 สถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หน่วยงานรัฐ องค์กรที่เกี่ยวข้อง จะต้องเข้าให้ความรู้แก่ประชาชนให้
ทั่วถึง เกี่ยวกับหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ประชาชนควรรู้ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาชน และเพื่อให้
้
ภาคประชาชนได้มีส่วนในการปกปองคุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยในสถานการณ์ละเมิดสิทธิ
ั่
มนุษยชนในฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติสมควรผลักดันเชิง
นโยบายตามที่คณะอนุกรรมการฯได้จัดประชุมเพื่อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยแยกประเด็น
ั่
ตามฐานทรัพยากร น ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในช่วงต้นปี. 2550 ไว้ 14 เรื่อง ได้แก่ กรณีน ้าในโครงการ
ชลประทาน กรณีท่าเทียบเรือ กรณีเขื่อนกันคลื่น กรณีท่าจอดเรือยอร์ช กรณีประมงพื้นบ้าน กรณีการออกเอกสาร
่
สิทธิในปาชายเลน กรณีการถมทะเล กรณีกรมประมงกับการอนุญาตให้ใช้พื้นที่ทะเล กรณีเหมืองหินอุตสาหกรรม
กรณีเหมืองแร่ประเภทอื่น กรณีดูดทรายแม่น ้า กรณีดูดทรายบก กรณีโครงการด้านพลังงาน กรณีมลพิษ
อุตสาหกรรม ดังต่อไปนี้
6.1.1 กรณีน ้าในโครงการชลประทาน
1) ในการด าเนินโครงการชลประทานทุกขนาด ทุกประเภท พื้นที่ที่จะถูกใช้ในกิจการโครงการ
ชลประทาน ทุกขนาด ทุกประเภท จะต้องได้รับการชดเชยที่คุ้มค่า เป็นธรรม เสมอกัน ทุกกรณี รวมตลอดทั้ง
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงต้องมีส่วนร่วมในการก าหนดหลักเกณฑ์ในการพิจารณาก าหนดค่าชดเชย
ดังกล่าวด้วย โดยความเสียหายที่ต้องชดเชย หมายรวมถึง พื้นที่ที่มีการครอบครองในลักษณะยึดถือเพื่อตน และท า
่
ประโยชน์ในที่ดินตามสภาพท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกพืชล้มลุก ไม้ผลยืนต้น เก็บฟืน การเก็บหาของปา
การเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ๆเป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติ หรือพื้นที่พุ่มไม้ ซึ่งได้เคยมีการท าประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
่
ดังกล่าวข้างต้นมาแล้ว เว้นแต่เป็นพื้นที่ปาสมบูรณ์
2) ก่อนพิจารณาด าเนินโครงการชลประทานทุกขนาด ทุกประเภท จะต้องมีการศึกษาผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม อย่างน้อยที่สุดในระดับการจัดท ารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น (IEE) พร้อมทั้งจัดท า
เอกสารเผยแพร่ที่มีเนื้อหาทั้งด้านดีและผลกระทบอย่างครบถ้วน ต้องมีการประชุมกลุ่มย่อยเป็นระยะๆ เพื่อให้
ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทุกราย ได้ร่วมพิจารณาและร่วมตัดสินใจอย่างโปร่งใส
3) กรณีโครงการที่จะด าเนินการในเขตที่มีคุณค่าทางนิเวศวิทยา เช่น การสร้างอ่างเก็บน ้าในพื้นที่
อนุรักษ์ โครงการผันน ้าข้ามลุ่มน ้าซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จะมีผลกระทบต่อสมดุลธรรมชาติ จ าเป็นที่จะต้องมี
134