Page 141 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 141

ในการตรวจสอบที่ผ่านมาพบว่ากระบวนการที่มีความส าคัญอย่างยิ่งในการผลักดันให้เกิดการ
                                  ั
                   แก้ไขและบรรเทาปญหาตลอดจนส่งผลทางอ้อมให้มีการชะลอโครงการต่างๆที่มีลักษณะการละเมิดสิทธิชุมชนคือการ
                   เรียกข้อมูลจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ครบถ้วน และเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาสู่กระบวนการตรวจสอบทาง
                   วาจา ตลอดจนเสนอความเห็นและมาตรการไปยังหน่วยงานหลายแห่งที่เกี่ยวข้องกัน ในประเด็นนี้มีส่วนท าให้เกิด
                   การเปิดเผย ตรวจสอบถ่วงดุล ระหว่างหน่วยงานทั้งรัฐและเอกชน  ตารางที่ 5.2-1  –  5.2-4  แสดงหน่วยงานที่
                                                                          ั่
                   เกี่ยวข้องในกระบวนการตรวจสอบตามประเด็นฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม และภาพที่ 5.1 แสดง
                                                                                      ั่
                   กลไกการคุ้มครองสิทธิจากการตรวจสอบกรณีร้องเรียนประเด็นฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ตามที่
                   ได้รวบรวมมาในปี 2544-2551


                   5.4 องค์ความรู้ในสาเหตุเชิงนโยบายที่อาจท าให้เกิดการละเมิดสิทธิชุมชน
                                                                                                      ั
                          ในกระบวนการตรวจสอบที่ได้มีการเรียกข้อมูลเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถประมวลประเด็นปญหาที่
                   พบว่าเป็นสาเหตุส าคัญที่ท าให้เกิดการละเมิดสิทธิของชุมชนได้ทั้ง 4 ประเด็นตามกลุ่มฐานทรัพยากร ดังนี้

                          5.4.1 กรณีน ้าในโครงการชลประทาน
                          1)     ในการด าเนินโครงการชลประทานทุกขนาด ทุกประเภท พื้นที่ที่จะถูกใช้ในกิจการโครงการ
                                                     ั
                   ชลประทาน ทุกขนาด ทุกประเภท มักมีปญหาความขัดแย้งในการจ่ายค่าชดเชยที่คุ้มค่า เป็นธรรม เสมอกัน
                   เนื่องจากในหลายกรณีประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงขาดการมีส่วนร่วมในการก าหนดหลักเกณฑ์ในการ
                   พิจารณาก าหนดค่าชดเชยดังกล่าว โดยความเสียหายที่ต้องชดเชย หมายรวมถึง พื้นที่ที่มีการครอบครองในลักษณะ
                   ยึดถือเพื่อตน และท าประโยชน์ในที่ดินตามสภาพท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกพืชล้มลุก ไม้ผลยืนต้น เก็บฟืน
                                ่
                   การเก็บหาของปา การเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ๆเป็นทุ่งหญ้าธรรมชาติ หรือพื้นที่พุ่มไม้ ซึ่งได้เคยมีการท าประโยชน์อย่าง
                                                               ่
                   ใดอย่างหนึ่ง ดังกล่าวข้างต้นมาแล้ว เว้นแต่เป็นพื้นที่ปาสมบูรณ์ซึ่งได้เคยมีการท าประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
                   ดังกล่าวข้างต้นมาแล้ว
                          2)     โครงการชลประทานขนาดเล็กยังไม่ก าหนดให้มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมถึงขาดการ
                       ั
                   รับฟงความเห็นของประชาชนที่ไดรับผลกระทบโดยตรง
                          3)     มีกรณีร้องเรียนหลายโครงการที่จะด าเนินการในเขตที่มีคุณค่าทางนิเวศวิทยา เช่น การสร้างอ่าง
                   เก็บน ้าในพื้นที่อนุรักษ์ โครงการผันน ้าข้ามลุ่มน ้าซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ จะมีผลกระทบต่อสมดุลธรรมชาติ แม้จะ

                   มีการจัดจ้างผู้รับจ้างจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  แต่ก็เป็นเพียงการหามาตรการและ
                   ข้ออ้างเพื่อลดผลกระทบและยังมีการผลักดันเพื่อด าเนินโครงการต่อไป ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรง อาทิเช่น
                   เขื่อนแก่งเสือเต้น ฝายหัวนา ที่สิ้นเปลืองทั้งงบประมาณในการศึกษาจ านวนมหาศาล และต้องสูญเสียต้นทุนทาง
                   ทรัพยากรจ านวนมาก

                          4)     โครงการพัฒนาแหล่งน ้า มักให้เกษตรกรเสียสละเพื่อประโยชน์ในการสร้างอ่างเก็บน ้า ที่อ้างว่า
                   เพื่อใช้ประโยชน์ในการเกษตรกรรม แต่เมื่อเกิดกรณีฝนแล้ง เช่น การขาดแคลนน ้าของภาคตะวันออก กลับน าน ้า
                   จากอ่างเก็บน ้าไปช่วยเหลือแหล่งอุตสาหกรรม อันสร้างความไม่ชอบธรรมแก่เกษตรกรเป็นอย่างยิ่ง

                          5.4.2 กรณีทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
                                                                                               ั
                            1)  โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือ ขาดกระบวนการเผยแพร่ข้อมูลและการประชุมรับฟงความเห็นอย่าง
                   ทั่วถึงเพื่อให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทุกรายได้ร่วมพิจารณาและร่วมตัดสินใจอย่างโปร่งใส  ในกรณีท่า
                   เทียบเรือขนาดต ่ากว่า 500 ตันกรอส ก็เป็นโครงการที่ส่งผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม




                                                              126
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146