Page 136 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 136
บทที่ 5
รวบรวมองค์ความรู้จากการตรวจสอบ
จากการศึกษารายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการฯท าให้เห็นถึงวิธีการตรวจสอบ การใช้หลัก
กฎหมาย และหลักสิทธิมนุษยชน มาใช้ในการพิจารณาเรื่องร้องเรียนเพื่อมีความเห็นต่อเรื่อง ซึ่งมีความแตกต่างกัน
ไปตามกรณี แต่หลักกฎหมายที่น ามาใช้เกือบทุกกรณี ก็คือ หลักตามรัฐธรรมนูญ และหลักสิทธิมนุษยชน และมี
ความเห็นแต่ละกรณีที่แตกต่างกันไป ท าให้เกิดองค์ความรู้และความคิดเห็นในเชิงสิทธิมนุษยชนที่ส าคัญ ควรแก่การ
ได้น ามาสรุปไว้ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนี้
5.1 องค์ความรู้ทางหลักสิทธิมนุษยชน
ั่
รายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม พบว่า การ
ตรวจสอบเป็นไปโดยอาศัยอ านาจตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ ซึ่งปรากฏในการอ้างถึงบทบัญญัติที่ส าคัญตามล าดับได้แก่
1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 4 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ
และเสรีภาพของบุคคล ย่อมได้รับความคุ้มครอง และ มาตรา 200 ที่กล่าวถึงอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ นี้เป็นหลักการพื้นฐานในกระบวนการท างาน
2) พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาตรา 3 ก าหนดความหมาย “สิทธิ
มนุษยชน” หมายความว่า ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง
หรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติ
ตาม ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิในการตรวจสอบจึงเป็นไปตามการอ้างถึงหลักตามรัฐธรรมนูญและสนธิสัญญาต่างๆ นี้
เป็นกลไกพื้นฐานที่ใช้ตรวจสอบ
โดยหลักการตามสนธิสัญญาที่ถูกอ้างถึงในรายงานได้แก่
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งประเทศไทยเข้า
เป็นภาคีเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2539
ข้อ 1 สิทธิในการก าหนดวิถีชีวิตตนเอง
ข้อ 1 ย่อย ก าหนดว่า ประชาชนทั้งปวงมีสิทธิในการก าหนดเจตจ านงของตนเอง โดยอาศัยสิทธิ
นั้น ประชาชนจะก าหนดสถานะทางการเมืองของตนอย่างเสรี รวมทั้งด าเนินการอย่างเสรีในการพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม
ข้อ 2 ย่อย ก าหนดว่า เพื่อจุดมุ่งหมายของตน ประชาชนทั้งปวงอาจจัดการโภคทรัพย์และ
ทรัพยากรธรรมชาติของตนได้อย่างเสรี โดยไม่กระทบต่อพันธกรณีใดๆ อันเกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักการแห่งผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน และกฎหมายระหว่างประเทศ
ประชาชนจะไม่ถูกลิดรอนจากวิถีทางแห่งการยังชีพของตนไม่ว่าในกรณีใดๆ
ข้อ 3 ย่อย ก าหนดว่า รัฐภาคีแห่งกติกาฉบับนี้ รวมทั้งผู้ที่รับผิดชอบในการบริหารดินแดนที่ไม่ได้
ปกครองตนเองและดินแดนในภาวะทรัสตี จะส่งเสริมสิทธิในการก าหนดเจตจ านงของตนเองให้บรรลุผลเป็นจริง และ
ต้องเคารพสิทธินั้นตามบทบัญญัติแห่งกฎบัตรสหประชาชาติ
ข้อ 47 จะตีความกติกานี้ในทางที่เสื่อมสิทธิที่มีมาแต่ก าเนิดของปวงชนในอันที่จะอุปโภคและ
ใช้ประโยชน์โภคทรัพย์และทรัพยากรธรรมชาติอย่างเต็มที่และเสรีมิได้
121