Page 140 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 140

ตารางที่ 5.1  รวบรวมองค์ความรู้ทางบทบัญญัติกฎหมายที่ส าคัญเพื่อสร้างกลไกคุ้มครองสิทธิในประเด็นฐานทรัพยากรน ้า
                   ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม จากการวิเคราะห์รายงานการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการฯ (2544-2551)

                                         รัฐธรรมนูญ 2550 (และเทียบเคียงกับ 2540)
                   มาตรา 4 (4) คุ้มครอง สิทธิเสรีภาพของบุคคล- มาตรา 257 (200) คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ   หลักการ  พื้นฐาน


                       พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ      กติการะหว่างประเทศ
                   มาตรา 3 (3) คุ้มครองสิทธิตาม รัฐธรรมนูญ สนธิสัญญา และพันธกรณี  สิทธิพลเมืองและการเมือง
                   มาตรา 15 (2) อ านาจหน้าที่คณะกรรมการสิทธิฯ      สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม   กลไกพื้นฐาน
                                                                   อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
                                         รัฐธรรมนูญ 2550 (และเทียบเคียงกับ 2540)

                   หมวด 3 (3) สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
                   มาตรา  30  (30)  คุ้มครองการเลือกปฏิบัติ  -  มาตรา  66  (46)  สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร,  67  (56,59)
                                                     ั
                   โครงการที่ส่งผลกระทบรุนแรงต้องจัดท า EIA/รับ ฟงความเห็นฯ/องค์กรอิสระ-    มาตรา 41 (48) สิทธิในทรัพย์สิน,
                   42 (49) คุ้มครองการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ฯ - มาตรา 56 (58) การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร, 58 (60) ส่วนร่วมในการ
                   พิจารณาการปฏิบัติราชการทางปกครอง, 59 (61)  สิทธิในการร้องทุกข์                 กระบวนการคุ้มครองสิทธิในขั้นพื้นฐาน
                   หมวด 5 (5) นโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
                   มาตรา 85 (79,84) นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
                   หมวด 14 (9) การปกครองส่วนท้องถิ่น
                   มาตรา 290 (290) หน้าที่รักษาสิ่งแวดล้อมขององค์กรท้องถิ่น
                               พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
                   มาตรา 12 และ 13 คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ- มาตรา 43, 44, 45, และ 100  เขตคุ้มครองสิ่งแวดล้อม –   กฎหมาย  หลัก
                   มาตรา 46,47,48,49 การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม- มาตรา 96 การชดใช้ความเสียหายจากมลพิษ

                                   บทบัญญัติที่ส าคัญเพื่อควบคุมและตรวจสอบเฉพาะประเด็น
                   การแย่งชิงน ้า : พรบ. ชลประทานหลวง มาตรา 4,5,35 การควบคุมมิให้ชักน ้าเมื่อเป็นเหตุก่อความเสียหาย
                   การก่อสร้างรุกล ้าชายฝั่ง และข้อพิพาทที่ดินชายทะเล  : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา  1304,
                   1374 สาธารณะสมบัติของแผ่นดิน และทรัพย์สินส าหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน- กฎกระทรวง ฉบับ 55 (พ.ศ. 2543)
                   ออกตามความในพรบ.  ควบคุมอาคาร  ควบคุมระยะห่างจากแหล่งน ้าสาธารณะและทะเล-ประกาศกระทรวง
                   ทรัพยากรฯ ควบคุมพื้นที่ประสบธรณีพิบัติสึนามิฯ- ประมวลกฎหมายที่ดิน มาตรา 20 (4) สงวนที่ดินของรัฐ
                   เพื่อให้ประชาชนใช้ประโยชน์ร่วมกัน-, พรบ. อุทยานแห่งชาติ มาตรา 6 คุ้มครองที่ดินกรรมสิทธิ์บุคคล
                   ข้อพิพาทที่ดินเหมืองเก่า  :  ประมวลกฎหมายที่ดิน  มาตรา  20  (4)  สงวนที่ดินของรัฐเพื่อให้ประชาชนใช้
                   ประโยชน์ร่วมกัน- พรบ. แร่ มาตรา 73 (3) มิให้สิทธิผู้ถือประทานบัตรครอบครองที่ดิน
                   ผลกระทบจากกิจกรรมเหมืองหิน-เหมืองแร่: พรบ. แร่ มาตรา 6 จัตวา, 9 ทวิ, 9 ตรี, 11, 49, 57, 71 ควบคุม
                   การท าเหมืองเพื่อไม่เกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมมากเกินไป-พรบ.โบราณสถาน โบราณวัตถุฯ มาตรา 4, 7, 10, 32
                   คุ้มครองโบราณสถานจากการท าเหมือง-พรบ.  โรงงาน  มาตรา  12,  15,  50,65  ควบคุมมลภาวะ-  พรบ. กฎหมายเฉพาะเพื่อสร้างกลไกให้หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องตรวจสอบการละเมิดสิทธิและ
                   สาธารณสุข มาตรา 25,26,27,28,31,32,33,73 คุ้มครองเหตุเดือดร้อนร าคาญ
                   ความขัดแย้งกรณีเหมืองแร่ใต้ดิน  :  พรบ.  แร่  มาตรา  88/6,  88/9,  88/10,  88/11  กลไกการมีส่วนร่วมของ
                   ประชาชน, ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ตามมาตรา 88/6 และ 88/9/10/11 เงื่อนไขและกลไกการมีส่วนร่วม
                   ผลกระทบจากการขุดดิน-ดูดทราย  :  พรบ.ขุดดินถมดิน  มาตรา  17,20,24,29  –  กฎกระทรวงก าหนด
                   มาตรการป้ องกันการพังทลายของดินและสิ่งปลูกสร้าง – พรบ. เดินเรือในน่านน ้าไทย (พ.ศ.2456) – พรบ.
                   โรงงาน (พ.ศ.2535) – ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการอนุญาตให้ดูดทราย (พ.ศ.2546)
                   ผลกระทบจากมลพิษพลังงาน  อุตสาหกรรม  และการจัดการอื่นๆ  :  พรบ.  โรงงาน  มาตรา  12,  15,  50,65   แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน
                   ควบคุมมลภาวะ- พรบ.สาธารณสุข มาตรา 25,26,27,28,31,32,33,73 คุ้มครองเหตุเดือดร้อนร าคาญ
                   ความขัดแย้งในการใช้พื้นที่เพื่อก่อสร้างและพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ : พรบ. ผังเมือง มาตรา 19, 24, 26
                   สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย –พรบ. แร่ มาตรา 6 จัตวา คุ้มครองพื้นที่แหล่งต้นน ้าไม่ให้เป็นเขตแหล่งแร่



                                                              125
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145