Page 137 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 137
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งประเทศ
ไทยเข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542
ข้อ 1 ข้อ 1 ย่อย ก าหนดว่า ประชาชนทั้งปวงมีสิทธิก าหนดเจตจ านงของตนเอง โดยสิทธินั้น
ประชาชาติเหล่านั้นจะก าหนดสถานะทางการเมืองของตนโดยเสรี และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของ
ตนอย่างเสรี
ข้อ 2 ย่อย ก าหนดว่า เพื่อจุดมุ่งหมายของตน ประชาชาติทั้งปวงอาจจัดการโภคทรัพย์และ
ทรัพยากรธรรมชาติของตนได้อย่างเสรี โดยไม่กระทบต่อพันธกรณีใดๆ อันเกิดจากความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของหลักการแห่งผลประโยชน์ร่วมกันและกฎหมายระหว่างประเทศ
ประชาชาติจะไม่ถูกลิดรอนวิถีทางยังชีพของตนไม่ว่ากรณีใด
ข้อ 3 ย่อย ก าหนดว่า รัฐภาคีแห่งกติกานี้ รวมทั้งรัฐที่รับผิดชอบในการบริหารดินแดนที่ไม่ได้
ปกครองตนเองและดินแดนในภาวะทรัสตี จะส่งเสริมให้สิทธิในการก าหนดเจตจ านงของตนเองมีผลจริงจัง และ
จะต้องเคารพสิทธินั้น ตามบทบัญญัติแห่งกฎบัตรสหประชาชาติ
ข้อ 25 ไม่มีบทบัญญัติใดในกติกานี้ที่จะตีความไปในทางเสื่อมเสียต่อสิทธิที่มีมาแต่ก าเนิดของ
ประชาชาติทั้งปวง ในอันที่จะอุปโภคและใช้ประโยชน์จากโภคทรัพย์และทรัพยากรธรรมชาติของตนอย่างเต็มที่และ
โดยเสรี
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ซึ่งประเทศไทยเข้าเป็นภาคีเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2535
ข้อ 6 ข้อ 1 ย่อย รัฐภาคียอมรับว่า เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวที่จะมีชีวิต
ข้อ 2 ย่อย รัฐภาคีจะประกันอย่างเต็มที่เท่าที่จะท าได้ ให้มีการอยู่รอด และการพัฒนาของเด็ก
ข้อ 24 ข้อ 1 ย่อย บัญญัติว่า รัฐภาคียอมรับในสิทธิของเด็กที่จะได้รับมาตรฐานสาธารณสุขที่สูง
่
ที่สุดเท่าที่จะหาได้ และสิ่งอ านวยความสะดวกส าหรับการบ าบัดรักษาความเจ็บปวยและการฟื้นฟูสุขภาพ รัฐภาคีจะ
พยายามด าเนินการที่จะประกันว่าไม่มีเด็กคนใดถูกลิดรอนสิทธิในการรับบริการดูแลสุขภาพเช่นว่านั้น
ข้อ 27 ข้อ 1 ย่อย รัฐภาคียอมรับสิทธิของเด็กทุกคน ในอันที่จะได้รับมาตรฐานของการด ารงชีวิต
ที่เพียงพอ ส าหรับการพัฒนาด้านร่างกาย สมอง จิตใจ ศีลธรรม และสังคมของเด็ก
้
จะเห็นได้ว่าตามกติการะหว่างประเทศและอนุสัญญา มีเปาหมายในการคุ้มครองการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานที่
บุคคลและชุมชนสามารถอยู่อาศัยในประเทศได้อย่างปกติสุขตามวิถีชีวิต และคุ้มครองการเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
ดังนั้นผลกระทบอันเกิดจากกิจกรรมต่างๆของรัฐและเอกชนย่อมต้องได้รับการคุ้มครองสิทธิตามกลไกพื้นฐานนี้ด้วย และ
พบว่าในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ซึ่งในทางปฏิบัติแล้วย่อมไม่มีรัฐธรรมนูญบังคับใช้
คณะอนุกรรมการฯก็ได้อาศัยกติกาเหล่านี้ในการอ้างถึงเพื่อจัดท ารายงานตรวจสอบ
ส าหรับบทบัญญัติเฉพาะหมวดต่างๆใน รัฐธรรมนูญถือเป็นกลไกคุ้มครองสิทธิในขั้นพื้นฐานที่จะกล่าวถึง
ต่อไป
ั
ั่
3) การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเด็นปญหาฐานทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม จะ
สอดคล้องกับบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในช่วงเวลาของการใช้รัฐธรรมนูญปี 2540 โดยสามารถ
ั
เทียบเคียงกับรัฐธรรมนูญปจจุบัน ฉบับ2550 ได้ดังแสดงในตารางที่ 5.1 โดยหลักสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญที่ถูก
อ้างถึง ตามรัฐธรรมนูญ 2550 (2540) ได้แก่
หมวด 3 (3) สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย ได้แก่ มาตรา 30 (30) คุ้มครองการเลือก
ปฏิบัติ - มาตรา 66 (46) สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร, 67 (56,59) โครงการที่ส่งผลกระทบรุนแรงต้องจัดท า
ั
EIA/รับ ฟงความเห็นฯ/องค์กรอิสระ- มาตรา 41 (48) สิทธิในทรัพย์สิน, 42 (49) คุ้มครองการเวนคืน
อสังหาริมทรัพย์ฯ - มาตรา 56 (58) การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร, 58 (60) ส่วนร่วมในการพิจารณาการปฏิบัติราชการทาง
ปกครอง, 59 (61) สิทธิในการร้องทุกข์
122