Page 142 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 142

เช่นเดียวกับท่าเทียบเรือซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า แต่ไม่ต้องจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
                   นอกจากนี้มักพบว่าพื้นที่ก่อสร้างท่าเทียบเรือเป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ และเป็นพื้นที่ที่ชาวประมงพื้นบ้านใช้
                   ประโยชน์ร่วมกันอยู่ในบริเวณที่มีทรัพยากรทางทะเล และความหลากหลายทางชีวภาพสูง ซึ่งผู้ใช้ประโยชน์ควรมีส่วน

                   ร่วมในการตัดสินใจ เนื่องจากการอนุญาตให้ใช้พื้นที่สาธารณประโยชน์ในทะเลที่ประชาชนใช้ร่วมกันแก่เอกชนรายใด
                   รายหนึ่ง เป็นการกระทบกระเทือนถึงสิทธิในการท ามาหากินของประมงพื้นบ้าน ท าให้ประชาชนถูกลิดรอนสิทธิจาก
                   วิถีทางแห่งการยังชีพของตน
                                                                                                      ั่
                              2)   การสร้างเขื่อน หรือก าแพงกันคลื่นทุกขนาดและทุกประเภท ทั้งประเภทที่ขนานกับชายฝง และที่
                   ยื่นออกไปในทะเล ยังไม่ถูกประกาศให้ต้องมีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ทั้งที่แทบ
                                                           ั่
                   ทุกแห่งล้วนสร้างผลกระทบให้เกิดการกัดเซาะชายฝงในบริเวณอื่นๆอย่างรุนแรงทั้งสิ้น
                                3)  ท่าจอดเรือยอร์ช (เรือส าราญกีฬา) จะมีการออกแบบให้ใช้พื้นที่ทะเลในขนาดกว้าง ส่งผลกระทบ
                   ต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับท่าเทียบเรือซึ่งมีขนาดใหญ่กว่า แต่ไม่อยู่ในเงื่อนไขให้มีการ
                   จัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม(EIA) และทุกแห่งขออนุญาตสร้างเป็นสิ่งล่วงล ้าลงในทะเล โดยขอ
                   อนุญาตเพียงกรมขนส่งทางน ้าและพาณิชยนาวี และจัดท ารายงานวิเคราะห์ผลกระทบเบื้องต้นโดยพิจารณาจาก
                                                        ั
                   คณะกรรมการระดับจังหวัดซึ่งไม่สามารถแก้ไขปญหาความขัดแย้งกับพื้นที่ที่ชาวประมงพื้นบ้านใช้ประโยชน์ร่วมกัน
                   ซึ่งผู้ใช้ประโยชน์ควรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ เนื่องจากการอนุญาตให้ใช้พื้นที่สาธารณประโยชน์ในทะเลที่
                   ประชาชนใช้ร่วมกัน แก่เอกชนรายใดรายหนึ่ง เป็นการกระทบกระเทือนถึงสิทธิในการท ามาหากินของประมง
                   พื้นบ้าน ท าให้ประชาชนถูกลิดรอนสิทธิจากวิถีทางแห่งการยังชีพของตน
                                4)   ชุมชนประมงพื้นบ้านยังขาดการคุ้มครองจากรัฐบาลในการบังคับใช้กฎหมายอย่างเด็ดขาดและ
                   จริงจัง ต่อกรณีการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับการท าประมงที่มีอยู่เดิม ต่อกรณีการท าประมงในเขตหวงห้าม ท า
                                                     ั่
                          ั
                   ให้เกิดปญหา เรืออวนรุน เรืออวนลาก เรือปนไฟปลากะตัก เรือคราดหอย และอุปกรณ์ประมงที่ท าลายล้างอื่น เข้าใน
                                                 ั
                   พื้นที่ประมงพื้นบ้าน นอกจากนี้ยังพบปญหาการเลือกปฏิบัติต่างๆต่อชาวเล กลุ่มอูรักลาโว้ย มอแกน และมอแกลน ซึ่ง
                   เป็นกลุ่มชาวประมงพื้นบ้านดั้งเดิม
                                                                                             ่
                                 5)    พบการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินริมทะเล และพื้นที่ใกล้เคียง ในพื้นที่เคยเป็นปาชายเลน อย่างไม่
                   ถูกต้องในหลายกรณี ส่งผลให้มีการพัฒนาโครงการและเกิดข้อพิพาทกับชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมที่อาศัยอยู่ก่อน

                                  6)   การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างโดยการถมทะเล บริเวณริมทะเลและกลางทะเล ที่โดยหลักการแล้วเป็น
                   พื้นที่สาธารณประโยชน์ที่ประชาชนมีสิทธิใช้ประโยชน์ร่วมกัน

                          5.4.3 กรณีทรัพยากรธรณี
                                 1)    เหมืองหินอุตสาหกรรมหลายแห่งอนุญาตให้มีการเปลี่ยนชนิดแร่จากแร่ชนิดอื่น หรือเพิ่มเติม

                   ชนิดแร่ มาเป็น แร่หินอุตสาหกรรม โดยไม่ต้องมีการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
                   เพิ่มเติม และขาดกระบวนการมีส่วนร่วมจากชุมชนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงและข้างเคียง (ทั้งสถานที่ตั้งเหมือง โรง
                   โม่หิน และเส้นทางการขนส่ง)  นอกจากนี้ยังพบว่าหลังจากเลิกประกอบกิจการเหมืองหินอุตสาหกรรม มาตรการที่
                                                                                         ั
                   ก าหนดให้ปรับปรุงทัศนอุดจาดตามเงื่อนไขท้ายประทานบัตรเดิมยังไม่เพียงพอ และพบปญหาในการเว้นระยะห่าง
                   ระหว่างพื้นที่ประกอบกิจการเหมืองหินอุตสาหกรรมและโรงโม่หินกับแหล่งโบราณสถาน โบราณวัตถุ

                                 2)    เหมืองแร่ประเภทอื่นนอกจากเหมืองหินอุตสาหกรรม อาจมีการประกอบกิจการไม่เป็นไปตาม
                   เงื่อนไขท้ายใบอนุญาต หรือเงื่อนไขท้ายประทานบัตร  เมื่อมีผลกระทบหรืออันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชน
                   มักจะไม่สามารถพิสูจน์ได้แน่ชัดว่าเกิดจากสาเหตุใด นอกจากนี้การก าหนดค่าภาคหลวงแร่ ส าหรับกิจการบางประเภท
                   ต ่ามาก เช่น ทองค า ไม่คุ้มค่าต่อทรัพยากรอันมีค่าที่ใช้แล้วหมดไป







                                                              127
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147