Page 113 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบรายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่และสิ่งแวดล้อม ในอนุคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ.2544-2550)
P. 113

ตารางที่  4.2 ตัวอย่างบางส่วนของรายงานที่แสดงถึงสิทธิในการก าหนดวิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ

                   เรื่อง : การคัดค้านนโยบายการแบ่งเขตประมงจังหวัด และโครงการธนาคารอาหารทะเลในอ่าวพังงา
                   ความเป็นมา : ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้มีนโยบายในการจัดการระบบทรัพยากรประมงใหม่ โดยให้มี
                   การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลเป็นรายจังหวัดนั้น นโยบายดังกล่าวมีผลกระทบโดยตรงต่อความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ
                   และวิถีชีวิตของชุมชนประมงในพื้นที่อ่าวพังงา ซึ่งครอบคลุมพื้นที่สามจังหวัด  คือ จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดกระบี่
                   ความเห็น :
                                           แถลงการณ์ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                  เรื่อง ข้อเสนอแนะต่อโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน  (SEA FOOD BANK)
                                                     ๒  กันยายน  ๒๕๔๘
                                 ตามที่คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบให้มีการด าเนินโครงการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน โดยมีหน่วยงาน
                   ภาครัฐที่รับผิดชอบหลายหน่วยงาน ซึ่งในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมประมงได้มีโครงการ SEA  FOOD  BANK  เกิดขึ้น โดยมี
                                                           ั
                   วัตถุประสงค์เพื่อที่จะจัดที่ท ากินให้แก่ประชาชนในการแก้ไขปญหาความยากจน สร้างฐานการผลิตอาหารทะเลทดแทนจากการ
                   จับจากธรรมชาติ  สร้างระบบการผลิตอาหารทะเลที่มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และเพื่อจัดระบบการผลิตสัตว์น ้าให้แก่
                               ้
                   ประชาชน กลุ่มเปาหมายจ านวน ๒๔๘,๔๙๒  ไร่ เพื่อน าไปสู่การกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงินในการส่งออก นอกจากนี้ ยังได้มี
                                                                                            ้
                   การจัดระบบเกษตรภายใต้สัญญาจ้าง (Contact  Farming)  เพื่อสนับสนุนการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้าให้กลุ่มเปาหมายอีกด้วย
                   .....................................................
                                 ก.  การแปลงสิทธิประโยชน์ในทะเลสาธารณะมาเป็นสิทธิของบุคคลแทน ย่อมสร้างผลกระทบบั่นทอน
                   ท าลายต่อสิทธิชุมชนตามรัฐธรรมนูญในการใช้ประโยชน์ร่วมกันในทะเลสาธารณะโดยสงบสันติมาดั้งเดิม เป็นความขัดแย้ง และ
                   สร้างความแตกแยกในการใช้ระหว่างบุคคลที่ได้รับสิทธิใหม่ กับชุมชนผู้ใช้ประโยชน์เดิม
                                 ข.  การท าระบบเกษตรภายใต้สัญญาจ้าง (Contact  Farming)  ย่อมเปลี่ยนฐานะจากเกษตรที่ประกอบ
                   อาชีพแบบเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นการเกษตรแบบภายใต้ก ากับการบริหารจัดการของบริษัททุนการเกษตร ย่อมมีแนวโน้ม
                   ของการล่มสลายในอาชีพ เฉกเช่น การเลี้ยงกุ้งกุลาด า การเลี้ยงไก่ เป็นต้น อีกทั้งสิทธิในทะเลสาธารณะในอนาคตย่อมตกในมือ
                   ของทุนต่อไปในอนาคต ซึ่งขัดแย้งต่อหลักการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
                                 ค.  ถึงแม้จะมีการจัดอบรมตามหลักสูตรที่ก าหนดให้แก่บุคคลที่ได้รับสิทธิใหม่ก็ตาม หากแต่บุคคล
                                                                                          ั
                   ดังกล่าวไม่เคยประกอบอาชีพมาก่อนย่อมมีความเสี่ยงสูง ผิดกับประมงพื้นบ้าน ที่เลี้ยงอยู่เดิม ย่อมมีภูมิปญญาในการจัดการ
                   อย่างยั่งยืนเป็นทุนเดิมอยู่แล้ว
                                 ดังนั้น ด้วยเหตุผลข้างต้น คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ จึงขอเสนอแนะนโยบายต่อโครงการดังกล่าว
                                     ั
                   เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปญหาความยากจนอย่างยั่งยืน ดังนี้
                                 ๑. เพื่อให้ประมงพื้นบ้านกลับมาประกอบอาชีพได้อย่างมั่นคง และเป็นไปในแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
                   รัฐบาลควรมีแนวนโยบายในการจัดการอย่างยั่งยืน มิให้มีการน าเครื่องมือประมง ซึ่งแย่งชิงทรัพยากรอย่างรุนแรงของเรืออวนรุน เรือ
                                  ั่
                   อวนลาก ตลอดจนเรือปนไฟปลากะตัก อันเป็นผลให้ประมงพื้นบ้านมีรายได้ลดน้อยลงอย่างมาก จนต้องตกอยู่ในฐานะยากจน
                                                              ่
                                                                                   ่
                                 ๒. ให้รัฐบาลจัดการกับผู้บุกรุกและท าลายปาชายเลน และด าเนินการฟื้นฟูปา  ชายเลน อันเป็นแหล่งผลิต
                   และอนุบาลสัตว์น ้าโดยด่วน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ฐานทรัพยากร อันประเมินค่ามิได้ของชาติ รวมทั้งเป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่
                   ประมงพื้นบ้านอีกทางหนึ่งด้วย
                   คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง และแร่ พิจารณาแล้วเห็นว่า
                                 ๓.๑ นโยบายนี้เป็นตัวอย่างของโครงการที่เมื่อพิจารณาโดยผิวเผินจะเห็นว่าเป็นโครงการที่หวังดี แต่หาก
                                                                             ั่
                   พิจารณาโดยละเอียดจะพบว่า จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝง และวิถีชีวิตชุมชนอย่างร้ายแรง และ
                                             ั่
                   อาจจะน าไปสู่การครอบครองที่ดินชายฝงและในผืนทะเลโดยนายทุนและชาวต่างชาติอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
                                ๓.๒ โครงการดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อประชาชน และนโยบายของรัฐที่ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน
                   อาจส่งผลกระทบต่อชุมชน












                                                              98
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118