Page 101 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 101

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ




                                  (๘)  ถ้าผู้ถูกจับประสงค์จะแจ้งให้ญาติหรือผู้ซึ่งตน
            ไว้วางใจทราบถึงการจับกุม ซึ่ง

                                       (๘.๑)  สามารถดำาเนินการได้โดยสะดวก
            และ

                                       (๘.๒)  ไม่เป็นการขัดขวางการจับ หรือการ
            ควบคุมผู้ถูกจับ หรือก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใด

                                  (๙)  ให้เจ้าพนักงานอนุญาตให้ผู้ถูกจับดำาเนินการ
            ได้ตามสมควรแก่กรณี และให้เจ้าพนักงานผู้จับนั้นบันทึกการจับดังกล่าวไว้ด้วย
                                 (๑๐)  ถ้าผู้ถูกจับได้รับบาดเจ็บ เจ้าพนักงานผู้จับ

            จะจัดการพยาบาลผู้ถูกจับเสียก่อนนำาตัวส่งพนักงานสอบสวนก็ได้
                                 (๑๑)  ถ้อยคำาใดๆ ที่ผู้ถูกจับให้ไว้ต่อเจ้าพนักงาน

            ผู้จับ หรือพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำารวจในชั้นจับกุม ถ้าถ้อยคำานั้นเป็นคำารับ
            สารภาพของผู้ถูกจับว่าตนได้กระทำาความผิด ห้ามมิให้รับฟังเป็นพยานหลักฐาน
                                 (๑๒)  แต่ถ้าเป็นถ้อยคำาอื่น จะรับฟังเป็นพยาน

            หลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผู้ถูกจับได้ก็ต่อเมื่อได้มีการแจ้งสิทธิ์
            ตามวรรคสองของ ป.วิ.อ. มาตรา ๘๓ แก่ผู้ถูกจับ

                             ๓.๗.๔.๒ การจับโดยเจ้าพนักงาน ณ ที่ทำาการ
            ของพนักงานสอบสวน ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๘๔

                                  (๑)  ให้ผู้จับแจ้งข้อกล่าวหาและรายละเอียด
            เกี่ยวกับเหตุแห่งการจับให้ผู้ถูกจับทราบ (แจ้งข้อกล่าวหาครั้งที่ ๒)

                                  (๒)  ถ้ามีหมายจับให้แจ้งผู้ถูกจับทราบและอ่าน
            หมายจับให้ฟัง

                                  (๓)  ถ้ายังไม่ได้เขียนบันทึกการจับ ให้เขียนบันทึก
            การจับ



                                          77
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106