Page 83 - คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจตามหลักสิทธิมนุษยชน
P. 83

สำ�นักง�นคณะกรรมก�รสิทธิมนุษยชนแห่งช�ติ




                     ๓.๓.๗  ศาลไม่รับฟังถ้อยคำาของผู้ต้องหา กรณีดังต่อไปนี้

                             ๓.๓.๗.๑  พนักงานสอบสวนไม่แจ้งสิทธิต่างๆ เช่น
            สิทธิที่จะไม่ให้การ สิทธิที่จะมีทนายความหรือผู้ซึ่งตนไว้วางใจเข้าฟัง
            การสอบปากคำา พนักงานสอบสวนมิได้เตือนผู้ต้องหาว่าถ้อยคำาที่ผู้ต้องหา
            ให้การนั้นอาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้ ตามที่ ป.วิ.อ.

            มาตรา ๑๓๔/๔ บัญญัติไว้
                             ๓.๓.๗.๒  พนักงานสอบสวนไม่ได้ถามผู้ต้องหาว่า

            มีทนายความหรือไม่ ตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๔/๑
                             ๓.๓.๗.๓  พนักงานสอบสวนไม่ได้จัดหาทนายความ
            ให้ผู้ต้องหาตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๔/๑ วรรคหนึ่ง และวรรคสอง

                             ๓.๓.๗.๔  พนักงานสอบสวนไม่ได้จัดให้นักจิตวิทยา ฯลฯ
            ร่วมอยู่ด้วยในการสอบสวนผู้ต้องหาที่เป็นเด็กตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๓

            ทวิ ประกอบมาตรา ๑๓๔/๒
                             ๓.๓.๗.๕  พนักงานสอบสวน ไม่ยอมให้ทนายความ
            หรือผู้ซึ่งผู้ต้องหาไว้วางใจเข้าฟังการสอบปากคำาผู้ต้องหา ตาม ป.วิ.อ.

            มาตรา ๑๓๔/๓
                             ๓.๓.๗.๖  พนักงานสอบสวน ทำาการสอบสวนเพิ่มเติม

            แต่ไม่เตือนผู้ต้องหาว่า ถ้อยคำาที่ผู้ต้องหาให้การนั้นอาจใช้เป็นพยาน
            หลักฐานในการพิจารณาคดีได้ (โปรดดู แนวคำาพิพากษาศาลฎีกาที่ ๑๓๐๔/
            ๒๔๘๒)

                             ๓.๓.๗.๗ พนักงานสอบสวนทำาการสอบสวนโดย
            ฝ่าฝืน ป.วิ.อ. มาตรา ๑๓๕ ทำาให้ผู้ต้องหาให้ถ้อยคำาออกมาโดยไม่สมัครใจ
            คำารับสารภาพนั้นรับฟังไม่ได้ (หมายความว่า เมื่อผู้ต้องหานั้นต้องเป็น
            จำาเลย ก็จะนำาคำารับสารภาพของผู้ต้องหาที่ให้ไว้ต่อพนักงานสอบสวน

            เป็นพยานหลักฐานพิสูจน์ความผิดของจำาเลยไม่ได้ หากเป็นคำารับสารภาพ


                                          59
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88