Page 142 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 142

เองได  จำตองใหทนายความจัดการให  ถือเปนการละเมิดสิทธิของผูตองหา  ปจจุบันจำเลยอยูระหวาง
               จำคุกที่เรือนจำพิเศษ กรุงเทพมหานคร และทนายความจะยื่นคำรองตอศาลฎีกาตอไป

               กรณีศึกษาที่ 3 ขอหาตางดาวทำงานผิดเงื่อนไขในบัตรอนุญาตทำงาน
               นางสาวโช              อายุ   21  ป

               เชื้อชาติ พมา        สัญชาติ พมา
               สถานภาพ โสด            ไมสามารถสื่อสารภาษาไทยได
               (ที่อยู)             ภูมิลำเนาปจจุบัน 49/6 ม.7 ต.ทาทราย อ.เมือง สมุทรสาคร
               ประวัติการเขาเมือง

               ภูมิลำเนาเดิม เมืองเมาะลำไยน ประเทศพมา
               เขาประเทศไทยทางดานจังหวัดระนอง
               เดินทางเขาประเทศไทย ป 2548 นายหนาพาเขามา เสียคาใชจาย 30,000 บาท

               ประวัติการทำงาน
               มีบัตรอนุญาตทำงานและบัตรประกันสุขภาพ ประเภทงาน ทำขนม
               สถานที่ทำงานตามบัตรฯ
               บริษัททำขนมแหงหนึ่งในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร

               ขอเท็จจริง
                        วันที่ 5 เมษายน 2550 เจาหนาที่สำนักงานตรวจคนเขาเมืองเขาจับกุมแรงงานจำนวน 17 คนใน
               โรงงานรวมทั้งนางสาวโช และผูจัดการ แตผูจัดการสามารถเสียเงินประกันตัวออกและภายหลังไดประกันตัว
               แรงงานออกมาอีก 5 คน ยกเวนนางโชที่ยังถูกจำคุกอยูที่เรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร โดยนองชายทราบวา
               หากตองการจะประกันตัวนางสาวโช ตองนำเงินมาจายประมาณ 8 หมื่นบาท แตยังไมทราบฐานความผิด
               (ขอหา)ของพี่สาว
                      ตอมาวันที่ 10 เมษายน จึงเขาเยี่ยมผูตองขังที่เรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร และเดินทางไปศาล
               จังหวัดสมุทรสาคร จึงทราบขอกลาวหา 2 กระทง ประกอบดวยขอหา "หลบหนีเขาเมือง” ตามพระราช
               บัญญัติคนเขาเมือง และ "ทำงานผิดเงื่อนไข" ตามพระราชบัญญัติการทำงานของคนตางดาว (ไมไดทำ
               งานกับนายจางตามบัตรอนุญาตทำงาน) ซึ่งศาลมีกำหนดฝากขังแทนคาปรับ 2 ผัดๆ ละ 12 วัน ตั้งแต
               วันที่ 7-30 เมษายน 2550 สวนการประกันตัวนั้น เนื่องจากมีความผิด 2 กระทง ตองใชเงินหรือหลักทรัพย
               เปนประกันสูงถึง 8 หมื่นบาท ซึ่งนองชายไมสามารถรวบรวมเงินจำนวนดังกลาวได
                      หลังจากนั้น วันที่ 18 เมษายน ครบกำหนดฝากขังครั้งที่ 1 เจาหนาที่ราชทัณฑจะควบคุมผูตองหา
               ไปฝากขังที่ศาลจังหวัดสมุทรสาคร  ซึ่งเจาหนาที่ไดพบนายหนาผูทำบัตรอนุญาตทำงานของนางสาวโช
               แตไมสามารถชวยเหลือได แมจะรูจักตำรวจที่รับผิดชอบคดีก็ตาม จนกระทั่งครบกำหนดฝากขังครั้งที่ 2
               ในวันที่ 30 เมษายน 2550 นางสาวโชจึงไดรับการปลอยตัวและสามารถกลับไปทำงานที่โรงงานเดิมอีกครั้ง

               บทวิเคราะห
                      คดีนี้ ศาลไมจัดลามแปลภาษาใหในการพิจารณาคดี ทำใหจำเลยไมทราบขอกลาวหาของตน
               และคดีเกี่ยวกับแรงงานขามชาติ  มักไมมีการดำเนินคดีกับนายจางที่ใหที่พักพิงหรือจางงานแตอยางใด
               ทั้งที่เปนความผิดชัดเจน

                 126    บทที่ 5 สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานขามชาติ
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147