Page 145 - คู่มือสำหรับผู้ดำเนินการอบรมสำหรับหลักสูตรอบรมเรื่อง สิทธิและหน้าที่แรงงานข้ามชาติ
P. 145

ภาคผนวก


                         การคุมครองพยานบุคคลในกระบวนการยุติธรรมเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนตามหลักสิทธิ
                  มนุษยชน ใหมีชีวิตเปนปกติสุขและมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน แรงงานขามชาติจำนวนมาก
                  ที่เปนพยานเกี่ยวของในคดียอมไมกลาใหการที่เปนประโยชนตอคดี หากไมไดรับความคุมครองตามกฎหมาย
                  รัฐจึงมีหนาที่กำหนดมาตรการคุมครองพยานบุคคลจากการทำลายพยานหลักฐานที่จะนำไปสูการคนหา
                  ความจริงตามกระบวนการยุติธรรม ทั้งเปนการสรางความเชื่อมั่นตอพยานในการใหการตามขอเท็จจริง

                         พระราชบัญญัติคุมครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 มีเนื้อหาคุมครองพยานในคดีอาญา ไดแก
                         1. บุคคลผูเปนพยาน
                         2. สามีหรือภริยาของพยาน

                         3. บุพการีของพยาน
                         4. ผูสืบสันดานของพยาน
                         5. ผูมีความสัมพันธใกลชิดของพยาน ซึ่งพยานรองขอการจายคาตอบแทนและคาใชจายแกพยาน
                             ในคดีอาญา
                         กรณีเกิดความเสียหายแกชีวิต รางกาย อนามัย เสรีภาพ ชื่อเสียง ทรัพยสิน หรือสิทธิของพยาน

                  หรือสามี หรือภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน หรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธใกลชิดกับพยาน เพราะมีการ
                  กระทำผิดโดยเจตนา เนื่องจากการที่พยานจะมาหรือไดเปนพยาน จึงเกิดสิทธิไดรับคาตอบแทนที่จำเปน
                  และสมควร


                  ประกาศคำรับรองสิทธิบุคคลที่เปนพยานในคดีอาญา
                         ประกาศคำรับรองสิทธิของบุคคลที่เปนพยานในคดีอาญาที่บัญญัติไวในพระราชบัญญัติคุมครอง
                  พยานในคดีอาญา พ.ศ.2546 เพื่อใหบุคคลที่เปนพยานในคดีอาญาไดรับรูสิทธิตน ดังนี้
                         1. สิทธิที่จะไดรับการคุมครองความปลอดภัย หากไดรับการขมขู คุกคามอันเปนผลจากการที่จะมา
                             เปนพยาน
                         2. สิทธิที่จะไดรับการคุมครองความปลอดภัยบุคคลใกลชิด หากไดรับการขมขูคุกคามอันเปนผล
                             จากการที่ตนเองจะมาเปนพยาน
                         3. สิทธิที่จะไดรับคาตอบแทน จากการมาใหขอเท็จจริงกับพนักงานสืบสวน สอบสวน พนักงาน
                             อัยการ ศาล
                         4. สิทธิที่จะไดรับคาตอบแทนความเสียหาย กรณีเกิดความเสียหายแกชีวิต รางกาย ทรัพยสิน ฯลฯ
                         5. สิทธิที่จะไดรับคาใชจายกรณีที่เขาสูมาตรการคุมครองพยาน ทั้งมาตรการทั่วไปและมาตรการ
                             พิเศษ


                  พระราชบัญญัติคาตอบแทนผูเสียหาย คาทดแทน และคาใชจายแกจำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544
                         ผูมีสิทธิไดรับคาคุมครองแบงเปน 2 ประเภท คือ
                              ผูเสียหายในคดีอาญา หมายถึง ผูที่ไดรับความเสียหายถึงแกชีวิต รางกาย หรือจิตใจ จากการ
                  กระทำความผิดอาญาของผูอื่น โดยผูเสียหายมิไดมีสวนเกี่ยวของกับการกระทำความผิดนั้นและไมมี


                                                                   บทที่ 5 สิทธิในการเขาถึงกระบวนการยุติธรรมของแรงงานขามชาติ  129
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150