Page 44 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 44
(๔) ส่งเสริมการศึกษา การวิจัย และการเผยแพร่ความรู้ด้านสิทธิมนุษยชน
(๕) ส่งเสริมความร่วมมือและการประสานงานภาคีในด้านสิทธิมนุษยชน
2. มีอ านาจตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ตามหมวด 3 แห่งพระราชบัญญัติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542
3. มีหน้าที่ประสานงานกับคณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง และหรือส านักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ
4. มีหน้าที่สรุปรายงานความก้าวหน้าในการด าเนินงานตามภารกิจข้างต้น ตลอดจนเสนอ
ผลการด าเนินการตามข้อ 1 (2) ข้อ 1 (3) และข้อ 2 ต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเพื่อพิจารณา
5. ด าเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมอบหมาย
เมื่อพิจารณาจากรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และ
ค าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการแล้ว เห็นได้ว่า การปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบพิจารณากรณีร้องเรียนและ
จัดท ารายงานของคณะอนุกรรมการ จึงเป็นการด าเนินการใช้อ านาจหน้าที่ตรวจสอบแทนคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติตามที่กฎหมายก าหนด โดยเป็นการใช้อ านาจตามที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ตาม
ค าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ดังนั้น รายงานซึ่งได้รับการจัดท าโดยคณะอนุกรรมการจึงเป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งของการ
ตรวจสอบกรณีร้องเรียนการละเมิดสิทธิมนุษยชนเท่านั้น แต่ไม่มีผลบังคับต่อหน่วยงานหรือผู้ที่เกี่ยวข้องตาม
ั
มาตรการการแก้ไขปญหา โดยรายงานจะมีผลบังคับตามกฎหมายก็ต่อเมื่อได้มีการน าเข้าพิจารณามีมติโดย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติแล้วเท่านั้น รายงานที่ออกมาจึงต้องเป็นรายงานที่ออกมาในนามของ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
28