Page 49 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 49

3.3    การแบ่งกลุ่มกรณีในเนื้อหาการร้องเรียนตามฐานทรัพยากร
                                                                            ั่
                          จากกรณีร้องเรียนต่อคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม นับแต่ปีพ.ศ.2544
                                                                                              ั
                   จนถึงเดือนเมษายน 2551 ทั้งสิ้น 247 กรณี คณะผู้ศึกษาได้แบ่งกลุ่มกรณีออกตามลักษณะของปญหาและประเภท
                   ของโครงการ ได้ดังนี้
                                                                    ั
                                ประเด็นฐานทรัพยากรน ้า แบ่งกลุ่มลักษณะปญหาออกเป็น 4 กลุ่ม คือ 1) กรณีเกี่ยวกับเขื่อนและ
                                 อ่างเก็บน ้า ฝายขนาดใหญ่ 2) กรณีเกี่ยวกับคลองส่งน ้า 3) กรณีเกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพแหล่ง
                                 น ้าและสร้างสิ่งกีดขวางหรือล่วงล ้าแหล่งน ้า และ 4) กรณีความขัดแย้งในการจัดการน ้า
                                                                           ั
                                                       ั่
                                ประเด็นฐานทรัพยากรชายฝงทะเล แบ่งกลุ่มลักษณะปญหาออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กรณีเกี่ยวกับ
                                                                                ั่
                                 โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือและโครงสร้างวิศวกรรมชายฝง 2)  กรณีเกี่ยวกับข้อพิพาทที่ดิน
                                      ั่
                                 ชายฝงทะเล และ 3) กรณีความขัดแย้งเกี่ยวกับนโยบายและกิจกรรมทางทะเลต่างๆ รวมถึงความ
                                 ช่วยเหลือภายหลังธรณีพิบัติภัยสึนามิ
                                ประเด็นฐานทรัพยากรแร่ จะครอบคลุมถึงฐานทรัพยากรธรณีอื่นๆไว้ด้วย โดยแบ่งกลุ่มลักษณะ
                                                                                                        ั
                                   ั
                                                               ั
                                 ปญหาออกเป็น 5 กลุ่ม คือ 1) กรณีปญหาจากกิจกรรมเหมืองหินและโรงโม่หิน 2) กรณีปญหา
                                                                           ั
                                 จากเหมืองแร่ โรงแต่งแร่ และการขนส่งแร่ 3)  กรณีปญหาจากการสูบและต้มน ้าเกลือ 4)  กรณี
                                   ั
                                                                      ั
                                 ปญหาจากการขุดดินและดูดทราย และ 5)กรณีปญหาเกี่ยวกับข้อพิพาทที่ดินบริเวณเหมืองแร่เก่า
                                                                         ั
                                         ั
                                                                                                    ั
                                ประเด็นปญหาด้านสิ่งแวดล้อม แบ่งกลุ่มลักษณะปญหาออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1) กรณีปญหาจาก
                                                                               ั
                                 โครงการพัฒนาพลังงานและประเด็นที่เกี่ยวข้อง 2)  กรณีปญหาจากมลพิษโรงงานอุตสาหกรรม
                                             ั
                                 และ 3)  กรณีปญหาความขัดแย้งในการจัดการสิ่งแวดล้อมอื่นๆรวมถึงความขัดแย้งเชิงนโยบาย
                                 และและแผนงานการพัฒนาที่อาจยังไม่เกิดขึ้น
                          การจ าแนกและจัดกลุ่มของคณะผู้ศึกษา อาจมีความทับซ้อนในเชิงประเด็นฐานทรัพยากร และลักษณะ
                     ั
                   ปญหาอยู่บ้าง เนื่องจากในแต่ละประเด็นอาจมีความทับซ้อนกันโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเด็นฐานทรัพยากรน ้าและกรณี
                     ั
                                                   ั
                   ปญหาจากน ้าเสียของอุตสาหกรรม หรือ ปญหาเกี่ยวกับข้อพิพาทที่ดินซึ่งเป็นพื้นที่เหมืองแร่เก่าที่อยู่บริเวณชายฝง ั่
                   ทะเลซึ่งเป็นลักษณะที่พบทั่วไปในภาคใต้ของประเทศไทย นอกจากนี้ในประเด็นฐานทรัพยากรแร่ ซึ่งครอบคลุมถึง
                   ฐานทรัพยากรดินและทรายก่อสร้างซึ่งจะคาบเกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพแหล่งน ้า ล าน ้า รวมถึงกรณีมลพิษจากการ
                   พัฒนาแหล่งพลังงานและอุตสาหกรรม กับมลพิษจากการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบอื่น เป็นต้น
                          ในการตรวจสอบของคณะอนุกรรมการที่เริ่มจากหลายคณะมาควบรวมกันนับเป็นอีกด้านหนึ่ง (ดูบทที่ 2) ที่
                   ท าให้เกิดการทับซ้อนของการจัดกลุ่ม ดังตัวอย่างเช่น ในการตรวจสอบกรณีการดูดทรายแม่น ้าของคณะอนุกรรมการ
                                                                                                        ั
                                                                         ั
                   ที่ดินและน ้ามารวมกับอนุกรรมการเพื่อการศึกษาและตรวจสอบกรณีปญหาเหมืองแร่ คณะผู้ศึกษาจึงน ากรณีปญหา
                                                              ั
                   มาจัดกลุ่มอยู่ในฐานทรัพยากรแร่เนื่องจากมีลักษณะปญหาใกล้เคียงและถือเป็นทรัพยากรธรณีเหมือนกันในเชิง
                   วิชาการ ในการตรวจสอบกรณีข้อพิพาทที่ดินเหมืองแร่เก่าชายทะเลของคณะอนุกรรมการน ้าและแร่มารวมกับ
                                                          ั่
                                                                              ั
                   อนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรทางทะเลและชายฝง คณะผู้ศึกษาจึงน ากรณีปญหามารวมกับฐานทรัพยากรกลุ่มข้อ
                                ั่
                                                      ั
                   พิพาทที่ดินชายฝงทะเล เนื่องจากมีประเด็นปญหาที่ใกล้เคียงกันมากกว่า
                          นอกจากนี้ภายหลังที่มีการควบรวมคณะอนุกรรมการด้านพลังงานและอุตสาหกรรม จึงท าให้อนุกรรมการ
                                                                ั
                   ชุดนี้สามารถตรวจสอบกรณีร้องเรียนได้ครอบคลุมปญหาสิ่งแวดล้อมทั้งหมด ดังที่สุดท้ายควบรวมเป็น
                                                      ั่
                   คณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ซึ่งประเด็นด้านพลังงานและอุตสาหกรรมได้ถือ
                                     ั
                   รวมเป็นกลุ่มประเด็นปญหาสิ่งแวดล้อมในภาพรวม นอกจากนี้คณะผู้ศึกษาได้จัดกรณีร้องเรียนที่เกี่ยวเนื่องกับ
                                                                                              ั
                   ทรัพยากรแร่ ได้แก่ กรณีโรงถลุงเหล็กที่จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดเลยไว้ในกลุ่มประเด็นปญหาสิ่งแวดล้อม
                   เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ใกล้เคียงกับโรงงานอุตสาหกรรมมากกว่าเหมืองแร่ ทั้งยังมิได้ใช้ฐาน
                                                                         ั
                   ทรัพยากรจากเหมืองแร่ในประเทศเป็นหลักอีกด้วย รวมถึงจัดประเด็นปญหาปลาตายในล าห้วยจากข้อสงสัยว่าเกิด



                                                              33
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54