Page 43 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 43
จ. บทลงโทษกรณีขัดขืนการด าเนินการของคณะกรรมการ
เพื่อเป็นการสนับสนุนให้คณะกรรมการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างเต็มที่ พระราชบัญญัติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 จึงได้มีบทบัญญัติว่าด้วยการลงโทษผู้ที่ขัดขืนหรือขัดขวาง
การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการด้วย ได้แก่
1. หากผู้ใดไม่มาให้ถ้อยค า หรือไม่ส่งวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานที่ถูกคณะกรรมการ
เรียกหรือถูกสั่งให้ส่ง ตามมาตรา 32 (2) บุคคลนั้นๆต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
19
หมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ซึ่งบัญญัติไว้ในมาตรา 34
2. หากผู้ใดต่อสู้หรือขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ตามมาตรา 32 (3) บุคคล
นั้นๆต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ ซึ่งบัญญัติไว้ใน
20
มาตรา 35
2.2.3 อ านาจหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ต่อมา เมื่อปีพ.ศ.2550 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
อ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติจึงเป็นไปตาม มาตรา 257 โดยมีอ านาจในการ
ตรวจสอบและรายงานการกระท าหรือการละเลยการกระท า อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไม่เป็นไป
ตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคีและเสนอมาตรการการแก้ไขที่
เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่กระท าหรือละเลยการกระท าดังกล่าวเพื่อด าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่า
ไม่มีการด าเนินการตามที่เสนอ ให้รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด าเนินการต่อไป เช่นเดียวกับที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 แต่มีอ านาจหน้าที่เพิ่มเติมในการน าเสนอกรณีการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนต่อศาลได้ ทั้งในการเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้
ั
ร้องเรียนว่าบทบัญญัติแห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบด้วย
รัฐธรรมนูญ การเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลปกครองในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่ากฎ ค าสั่ง
ั
หรือการกระท าอื่นใดในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
้
หรือกฎหมาย การฟองคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่
21
ั
เห็นสมควรเพื่อแก้ไขปญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม
2.2.4 อ านาจหน้าที่ตามค าสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน ้า ชายฝั่ง
แร่ และสิ่งแวดล้อม
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้อาศัยอ านาจตามมาตรา 1 5 (9) แห่ง
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากร
ั่
น ้า ชายฝง แร่ และสิ่งแวดล้อม ขึ้นโดยก าหนดไว้ในค าสั่งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ โดยให้
คณะอนุกรรมการมีอ านาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1. มีอ านาจหน้าที่ตาม มาตรา 15 (1) (2) (3) (4) (5) แห่งพระราชบัญญัติคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ ตามบทบัญญัติข้างต้น ดังนี้
(๑) ส่งเสริมการเคารพและการปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน
(๒) ตรวจสอบการกระท าที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนและเสนอมาตรการการแก้ไข
(๓) เสนอแนะนโยบายและข้อเสนอในการปรับปรุงเชิงนโยบาย
19
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 34
20
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 35
21
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 257
27