Page 38 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 38
2.2.2 อ านาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ.2542
ต่อมา ได้มีการออกพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 ตาม
ความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตรา 200 โดยกฎหมายดังกล่าวได้ก าหนดอ านาจ
หน้าที่และวิธีการด าเนินการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและคณะอนุกรรมการไว้ในหลายมาตรา
โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้
ก. อ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติและคณะอนุกรรมการ
1. ในการประชุมคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ให้การประชุมของคณะกรรมการต้องมีองค์
ประชุมไม่น้อยว่ากึ่งหนึ่งของจ านวนกรรมการที่มีอยู่ และให้ถือเสียงข้างมากในการวินิจฉัยชี้ขาด โดยก าหนด
2
ไว้ในมาตรา 14
2. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มีหน้าที่ส่งเสริมการเคารพและการปฏิบัติตาม
หลักสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ มีอ านาจตรวจสอบและรายงานการกระท าหรือการ
ละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรืออันไม่เป็นไปตามพันธกรณีระหว่างประเทศเกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี และเสนอมาตรการการแก้ไขที่เหมาะสมต่อบุคคลหรือหน่วยงานที่
กระท าหรือละเลยการกระท าดังกล่าวเพื่อด าเนินการ ในกรณีที่ปรากฏว่า ไม่มีการด าเนินการตามที่เสนอให้
รายงานต่อรัฐสภาเพื่อด าเนินการต่อไป และยังมีอ านาจแต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามที่
3
คณะกรรมการมอบหมาย โดยก าหนดไว้ในมาตรา 15
3. ตามกฎหมายดังกล่าวได้ก าหนดให้ประธานกรรมการและกรรมการปฏิบัติงานประจ า
เต็มเวลาโดยได้รับค่าตอบแทนเป็นรายเดือนและค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และ
อัตราที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา แต่อนุกรรมการได้รับค่าตอบแทนเฉพาะเบี้ยประชุมและค่าใช้จ่ายในการ
4
เดินทางไปปฏิบัติงาน ตามหลักเกณฑ์และอัตราที่ก าหนดในพระราชกฤษฎีกา โดยบัญญัติไว้ในมาตรา 16
4. ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมี
อ านาจตรวจสอบนั้น ตรวจสอบได้เฉพาะในกรณีที่มีการกระท าหรือการละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิด
้
สิทธิมนุษยชน ซึ่งมิใช่เป็นเรื่องที่มีการฟองร้องเป็นคดีอยู่ในศาลหรือที่ศาลพิพากษาหรือมีค าสั่งเด็ดขาดแล้ว
5
โดยบัญญัติไว้ในมาตรา 22
5. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีอ านาจแต่งตั้งคณะอนุกรรมการคณะหนึ่งหรือ
ั
หลายคณะ เพื่อท าหน้าที่สืบสวนและสอบสวนข้อเท็จจริง รับฟงค าชี้แจงและพยานหลักฐาน และจัดท ารายงาน
ตามระเบียบที่คณะกรรมการก าหนดเสนอต่อคณะกรรมการได้ โดยให้คณะอนุกรรมการมีอ านาจหน้าที่
6
เช่นเดียวกับคณะกรรมการ เว้นแต่คณะกรรมการจะก าหนดเป็นอย่างอื่น โดยบัญญัติไว้ในมาตรา 26
6. ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.
2542 ให้กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อนุกรรมการ หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ที่คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
2
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 14
3
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 15
4
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 16
5
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 22
6
โปรดดูภาคผนวก หมวดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ว่าด้วยพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 26
22