Page 123 - การรวบรวมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ รายงานตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนของคณะอนุกรรมการสิทธิในทรัพยากรน้ำ ชายฝั่ง แร่ และสิ่งแวดล้อม ในคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (พ.ศ. 2545 - 2550) : (รายงานหลัก)
P. 123

ตารางที่  4.9 ตัวอย่างบางส่วนของรายงานที่ให้แก้ปัญหาหา/บรรเทาความเดือดร้อนแต่ละกรณี

                   เรื่อง : สิทธิชุมชน กรณีผลกระทบจากการประกอบกิจการต้มเกลือและสูบน ้าเกลือ (จังหวัดมหาสารคาม)
                                                                   ่
                   ความเป็นมา : การประกอบกิจการโรงงานต้มเกลือสินเธาว์ในบริเวณปาซาดหนา ซึ่งเป็นแหล่งหาอยู่หากินของราษฎรหลาย
                   หมู่บ้าน เช่น บ้านหนองแวง บ้านหนองไร่ บ้านคอกม้า และบ้านดอนขมิ้น ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อราษฎรจ านวนมาก โดย
                    ั
                   ปญหาส าคัญคือ ท าให้ผืนดินในบริเวณรัศมีไม่น้อยกว่า ๒ กิโลเมตรจากโรงงานต้มเกลือ มีความเค็ม ท าให้ไม่สามารถท า
                   การเกษตรได้เลย ไม่ว่าจะการท านา หรือเลี้ยงสัตว์น ้า และยังก่อให้เกิดผลกระทบสืบเนื่องต่อมาก็คือ ผลกระทบทางด้าน
                   เศรษฐกิจ และผลกระทบทางด้านสังคม
                   ความเห็น : คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติมีความเห็นดังนี้
                                 ๓.๑ จากการตรวจสอบเป็นที่ชัดเจนว่า ผู้ประกอบการผลิตเกลือสินเธาว์สร้างผลกระทบต่อที่ดินท ากินและ
                   สิ่งแวดล้อมในพื้นที่บ้านหนองแวง ต าบลโคกพระ อ าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม และพื้นที่ข้างเคียง อย่างรุนแรง แต่ไม่
                   พบว่าเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่ดูแลจะบังคับใช้กฎหมายในการลงโทษอย่างจริงจัง และกลับน างบประมาณของรัฐไปก่อสร้างท านบดิน
                    ้
                   ปองกันน ้าเค็มรอบพื้นที่ประกอบการ โดยมิได้ให้ผู้ประกอบการร่วมรับผิดชอบแต่อย่างใด ซึ่งผิดหลักการที่ผู้ก่อมลพิษจะต้อง
                                             ั
                   เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการแก้ไขปญหา
                                 ๓.๒ เกษตรกรผู้ได้รับความเสียหายจากการประกอบการ สมควรที่จะได้รับค่าชดเชยมากกว่าที่ได้รับไป
                   แล้ว (รายละ ๒,๐๐๐ บาท) จากผู้ประกอบการ เพื่อให้คุ้มค่ากับความเสียหายนั้น
                                 ๓.๓ การผลิตเกลือสินเธาว์ที่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมในกรณีนี้ แสดงให้เห็นว่ามาตรการก ากับดูแลการ
                   ประกอบการผลิตเกลือสินเธาว์ เท่าที่ผ่านมายังไม่มีประสิทธิภาพมากพอที่จะคุ้มครองผลกระทบสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนได้
                   รวมทั้งไม่ได้ถูกก าหนดให้ต้องท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ดังนั้น จึงเป็นกิจการที่ต้องทบทวนกระบวนการ
                   อนุญาตและการต่อใบอนุญาตในการประกอบการใหม่ทั้งหมด

                                 ข้อ  ๔  มาตรการการแก้ไขปัญหา
                                                                           ั
                                 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้มีมาตรการการแก้ไขปญหาต่อกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการ
                   เหมืองแร่ และต่อกรมควบคุมมลพิษ ดังนี้
                                 ๔.๑ ให้กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างท านบดินกั้นน ้าเกลือ
                   จากผู้ประกอบการ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา ๑๘๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้
                                 ๔.๒ ให้กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ติดตามและก ากับดูแลให้ผู้ประกอบการด าเนินการตาม
                   เงื่อนไขใบอนุญาต และให้ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสียไป โดยใช้งบประมาณของผู้ประกอบการ โดยทันทีนับแต่วันที่ได้รับรายงาน
                   ฉบับนี้
                                 ๔.๓ ให้กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ศึกษาและปรับปรุงแก้ไขกฎ ระเบียบ ในการอนุญาต
                   ต่อใบอนุญาต และควบคุมตรวจสอบการประกอบกิจการผลิตเกลือสินเธาว์ ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา ๑๘๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับ
                   รายงานฉบับนี้
                                 ๔.๔ ให้กรมควบคุมมลพิษ ด าเนินการให้มีการประกาศพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายจากการประกอบกิจการ
                                                                ั
                   ผลิตเกลือสินเธาว์เป็นเขตควบคุมมลพิษ เพื่อประโยชน์ในการแก้ไขปญหาอย่างถาวรต่อไป ทั้งนี้ ภายในระยะเวลา ๑ ปี นับแต่
                   วันที่ได้รับรายงานฉบับนี้




















                                                             107
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128