Page 131 - กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2567)
P. 131
๙
ข้อ ๓๙ ให้มีคณะอนุกรรมการข้าราชการส านักงานด้านอุทธรณ์ร้องทุกข์ โดยมีองค์ประกอบ ดังนี้
(๑) ประธานกรรมการหรือกรรมการที่ประธานกรรมการมอบหมาย เป็นประธาน
(๒) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านกฎหมาย และด้านสิทธิมนุษยชน ด้านละ ๑ คน
เป็นอนุกรรมการ
(๓) ผู้แทนส านักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน จ านวน ๑ คน เป็นอนุกรรมการ
(๔) ผู้แทนส านักงานศาลปกครอง จ านวน ๑ คน เป็นอนุกรรมการ
(๕) ผู้แทนส านักงานอัยการสูงสุด จ านวน ๑ คน เป็นอนุกรรมการ
ให้ผู้อ านวยการส านักบริหารกลางเป็นเลขานุการ และให้ผู้อ านวยการกลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล
เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ทั้งนี้ คณะกรรมการอาจแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม
ข้อ ๔๐ การคัดเลือกอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓๙ (๒) ให้เลขาธิการเสนอบัญชีรายชื่อ
ผู้สมควรเป็นอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พร้อมทั้งระบุผลงานโดยย่อของแต่ละคนเสนอคณะกรรมการพิจารณา
ให้ความเห็นชอบ
ให้อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓๙ (๒) มีวาระด ารงต าแหน่งคราวละสองปี เมื่อพ้นวาระแล้ว
อาจได้รับเลือกให้เป็นอนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓๙ (๒) ได้อีก แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
นอกจากพ้นจากต าแหน่งตามวาระแล้ว ให้อนุกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อ ๓๙ (๒) พ้นจากต าแหน่งเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) คณะกรรมการมีมติให้ออก
ข้อ ๔๑ ให้คณะอนุกรรมการข้าราชการส านักงานด้านอุทธรณ์ร้องทุกข์ตามข้อ ๓๙ มีหน้าที่และอ านาจ
ในการพิจารณาอุทธรณ์และการร้องทุกข์ตามข้อ ๓๗ วรรคสอง แล้วเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการ
เพื่อพิจารณาวินิจฉัย
หมวด ๔
การออกจากราชการ
ข้อ ๔๒ การออกจากราชการของข้าราชการส านักงาน ให้น ากฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน
กฎ ก.พ. ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่ออกตามความในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับ
โดยอนุโลม เว้นแต่คณะกรรมการจะก าหนดเป็นอย่างอื่น
บทเฉพาะกาล
ข้อ ๔๓ ในระหว่างที่คณะกรรมการยังมิได้ออกระเบียบหรือประกาศเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล
การก าหนดต าแหน่ง และมาตรฐานการก าหนดต าแหน่งของข้าราชการส านักงานตามระเบียบนี้ ให้น าบทบัญญัติ
120