Page 4 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 4

๒



                                                                                 2
               คอมพิวเตอรปลอมไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ เมื่อพิจารณาแลวเห็นวา
               รางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรฯ ตองมีเจตนาทุจริตและหลอกลวง

               ซึ่งถือเปนการมุงเนนถึงเจตนาของผูกระทําความผิดเปนสําคัญ อยางไรก็ตาม มีขอสังเกตวาการที่กฎหมาย
               ใชคําวาเจตนาโดยหลอกลวง ซึ่งเปนคําที่กวางโดยไมปรากฏบทนิยามหรือคําจํากัดความนั้น จะสามารถ
               ถูกนํามาตีความไปใชในความผิดฐานหมิ่นประมาทไดอีกหรือไม

                              ประเด็นที่ 2 ตามมาตรา 8 ของรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอรฯ ไดแกไขเพิ่มเติมความในมาตรา 14 (2) ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด
                                                             3
               เกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ซึ่งไดมีการขยายขอบเขตพฤติการณประกอบการกระทําของผูนําเขาสู
               ระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จหรือผูเผยแพรและสงตอ ตามมาตรา 14 (5)
               อีก 3 ลักษณะ คือ “โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายตอความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทาง
               เศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสรางพื้นฐานอันเปนประโยชนสาธารณะของประเทศ” ซึ่งพฤติการณของ
               คําวา “ความปลอดภัยสาธารณะ” “ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ” “โครงสรางพื้นฐานอันเปนประโยชน

               สาธารณะของประเทศ” ที่ไดมีการเพิ่มเติมนั้น เปนถอยคําที่สามารถตีความไดอยางกวางและไมปรากฏ
               บทนิยามไวแตอยางใด จึงมีขอสังเกตวา พฤติการณดังกลาวสามารถตีความไดแคไหนเพียงใด
               และการพิจารณาฐานความผิดดังกลาวนั้นขึ้นอยูกับดุลพินิจของเจาพนักงานผูบังคับใชกฎหมายเปนหลัก

               จะกอใหเกิดการฟองรองเปนคดีไดโดยงายและพิสูจนความผิดไดยากหรือไม และการที่กฎหมายใหผูเผยแพร
               และสงตอขอมูลคอมพิวเตอรตองรับผิดดวยนั้น จะถือเปนการลิดรอนเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น
               หรือแสดงความรูสึกของบุคคลโดยสุจริตเกินสมควรหรือไม

                              ประเด็นที่ 3 ตามมาตรา 9 แหงรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอรฯ ที่แกไขเพิ่มเติมความในมาตรา 15 ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ

               คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มีขอสังเกตดังนี้

                                ขอสังเกตที่ 1 บทนิยามของคําวา “ผูใหบริการ” ไมเพียงแตหมายถึง ผูใหบริการ
               แกบุคคลอื่นในการเขาสูอินเตอรเน็ตเทานั้น แตยังรวมถึงผูใหบริการที่สามารถทําใหติดตอถึงกัน
               โดยประการอื่นดวย



                              รางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
                              มาตรา 8 ใหยกเลิกความในมาตรา 14 แหงพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
               คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 และใหใชความตอไปนี้แทน
                              2  มาตรา 14 ผูใดกระทําความผิดดังที่ระบุไวตอไปนี้ ตองระวางโทษ ....
                               (1) โดยทุจริตหรือโดยหลอกลวงนําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอม ไมวา
               ทั้งหมดหรือบางสวนหรือขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความเสียหายแกประชาชน

                              3  (2) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะเกิดความ
               เสียหายตอการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของ
               ประเทศ หรือโครงสรางพื้นฐานอันเปนประโยชนสาธารณะของประเทศ หรือกอใหเกิดความตื่นตระหนักแกประชาชน
   1   2   3   4   5   6   7   8   9