Page 3 - ประมวลความเห็นทางกฎหมาย ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2559 ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2560
P. 3

๑



                                                     บันทึกความเห็นทางกฎหมาย
                                ตอรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. ....





                       1. ความเปนมา

                                     ในการประชุมสภานิติบัญญัติแหงชาติ เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2559 ไดพิจารณา
                       รางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ที่คณะรัฐมนตรี

                       เปนผูเสนอและที่ประชุมไดมีมติรับหลักการรางกฎหมายดังกลาว พรอมตั้งคณะกรรมาธิการสามัญเพื่อ
                       พิจารณาตอไป โดยรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรฯ ไดแกไขเพิ่มเติม
                       บทบัญญัติในบางมาตราของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
                       ดวยหลักการและวัตถุประสงคเพื่อปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดหรืออาชญากรรมเกี่ยวกับ
                       คอมพิวเตอร ซึ่งมีการพัฒนารูปแบบที่มีความซับซอนมากขึ้น และเพื่อใหสอดคลองกับบริบทของสภาพ

                       ทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยีในสภาพปจจุบันที่มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว

                       2. ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

                                     รางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรฯ มีการแกไขเพิ่มเติม
                       บทบัญญัติบางประการของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
                       ไว จํานวน 19 มาตรา ซึ่งมีประเด็นที่เปนสาระสําคัญอันเกี่ยวของกับหลักสิทธิมนุษยชนในมิติตางๆ ไดแก

                       ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Universal Declaration of Human Rights (UDHR) กติการะหวาง
                       ประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (Optional Protocol to International Covenant
                       on Civil and Political Rights) รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 และรัฐธรรมนูญ
                       แหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ดังนี้

                                                                  1
                                     ประเด็นที่ 1 เดิมมาตรา 14 (1) ของพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิด
                       คอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 ไดถูกนํามาตีความและใชดําเนินคดีความฐานผิดหมิ่นประมาท ซึ่งเปนการบังคับ
                       ใชกฎหมายที่ซ้ําซอนกับความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวลกฎหมายอาญาและประมวลกฎหมาย
                       แพงและพาณิชยที่ไดวางบทกําหนดโทษทางอาญาและทางแพงไวเปนการเฉพาะแลว ถือเปนการบังคับใช
                       กฎหมายที่ไมตรงตามเจตนารมณซึ่งมีหลักการในการมุงคุมครองประโยชนสาธารณะเปนสําคัญ

                       โดยรางพระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรฯ ไดบัญญัติเพิ่มเจตนาพิเศษวา
                       ผูที่จะมีความผิดไดตองมีเจตนาโดยทุจริตหรือโดยหลอกลวง นําเขาสูระบบคอมพิวเตอรซึ่งขอมูล





                                     1  พระราชบัญญัติวาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
                                     มาตรา 14 ผูใดกระทําความผิดที่ระบุไวดังตอไปนี้ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกิน
                       หนึ่งแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ
                                     (1) นําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ซึ่งขอมูลคอมพิวเตอรปลอม ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน หรือ
                       ขอมูลคอมพิวเตอรอันเปนเท็จ โดยประการที่นาจะกอใหเกิดความเสียหายตอประชาชน
   1   2   3   4   5   6   7   8