Page 61 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 61

๖๐

                                                     ปฏิญญาสงขลา
                                                สังคม-ชุมชนใหมํที่เป็นไปได๎

                  การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และสิ่งแวดล฾อมจากการเข฾าสู฽สังคมโลกาภิวัตนแ การเติบโตของ
           ระบบการค฾า นโยบายการพัฒนา การผันแปรทางการเมือง ภัยคุกคามและความไม฽มั่นคงในภาคใต฾ ได฾ส฽งผลกระทบอย฽าง
           ขนานใหญ฽ต฽อพวกเราในฐานะประชาชน คนธรรมดาสามัญ ที่ถูกก าหนดชะตาชีวิตให฾เดินในเส฾นทางที่ไม฽ได฾ก าหนด ท าให฾
           เผชิญกับความเจ็บปวด ทรมาน อย฽างแสนสาหัส และบัดนี้เราได฾ประจักษแชัดถึงความจ าเป็นในเส฾นทางที่เป็นไปได฾

           ส าหรับการสร฾างสรรคแสังคมใหม฽ ที่ท าให฾ประชาชน ธรรมดา สามัญ สามารถก าหนดนิยามสังคม-ชุมชนใหม฽ ที่เรา
           ต฾องการ ด฾วยการสร฾างเครือข฽ายความร฽วมมือที่ต฽อเนื่องและโยงใย เพื่อปฏิบัติการปกปูอง คุ฾มครอง และร฽วมกันสร฾าง
           สังคมใหม฽-ชุมชนใหม฽อย฽างมุ฽งมั่นและจริงจัง
                  ในฐานะประชาชน ธรรมดาสามัญ เราทั้งหลาย ณ ที่นี่ จึงร฽วมกันประกาศปฏิญญา “สังคม-ชุมชนใหม฽”

           ดังต฽อไปนี้


                      1.  เราจะกระท าทุกวิถีทางที่ชอบธรรมในการส฽งเสริม สนับสนุนความเข฾มแข็ง ภาคประชาชนในการ
                         เตรียมความพร฾อมเข฾าสู฽การสร฾างสังคม ชุมชนใหม฽ ที่เราสามารถก าหนดด฾วยตัวเองอย฽างมีเกียรติ์

                         ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยแ ทั้งในฐานะที่เป็นศูนยแกลางและเปูาหมายของการพัฒนา
                      2.  เราจักต฽อสู฾ ยืนหยัดอย฽างต฽อเนื่องและกล฾าหาญในการปกปูอง ผืนแผ฽นดิน มาตุภูมิของเรา, การรุกราน
                         ยัดเยียด การกระท าใดที่ปราศจากความชอบธรรม จะได฾รับการตอบโต฾ และต฽อต฾าน ในฐานะ

                         ประชาชน สิทธิชุมชน ความเป็นพลเมือง ในทุกการกระท าที่จ าเป็นเพื่อให฾มั่นใจว฽าเราจะไม฽ได฾เดือน
                         ร฾อน เจ็บปวดเช฽นที่ผ฽านมา
                      3.  เราขอยืนยันว฽าในฐานะที่เป็นสมาชิกของสังคม เราทุกคนไม฽ว฽าจะเป็น ผู฾หญิง เด็ก เยาวชน เกษตรกร
                         กลุ฽มชาติพันธุแ จะต฾องได฾รับการปกปูอง คุ฾มครอง ปลอดพ฾นจากเลือกปฏิบัติขุมขู฽ คุกคาม ทุกรูปแบบ
                         อันรวมถึงการเลือกปฏิบัติใดๆอันเนื่องมาจากความแตกต฽าง

                      4.  เราได฾ใคร฽ครวญอย฽างถ฾วนถี่จากเส฾นทางประวัติศาสตรแอันยาวนาน จึงขอประกาศว฽านับจากนี้พลังชีวิต
                         ทั้งมวลของพวกเราจะถูกปลดปล฽อยออกมาอย฽างสร฾างสรรคแและมีสามัญส านึก ส าหรับการสร฾างสรรคแ
                         สังคม-ชุมชนใหม฽ ที่เท฽าเทียมและก าหนดโดยตัวเรา

                      5.  เราทั้งหลายจะน าปฏิญญาสงขลา สังคม-ชุมชนใหม฽ที่เป็นได฾ ออกสู฽การปฏิบัติการและการเคลื่อนไหว
                         ทางสังคม เพื่อให฾ได฾ซึ่งสิ่งปรารถนา ในทุกระดับ ดังนี้
                                   1.  การใช฾หลักศาสนาน าการพัฒนา ตามแนวทางเครือข฽ายชุมชนศรัทธาหรือ กัมปง ตักวา
                                       ด฾วยรูปแบบการพัฒนา “สี่เสาหลัก”  โดยมีแนวทางการขับเคลื่อนด฾วยการสร฾างพื้นที่

                                       สังคม การปฏิบัติการ และการสนับสนุนที่เหมาะสมจากภายนอก เพื่อให฾สามารถสร฾าง
                                       ความมั่นคงของชุมชนตามแนวทางศรัทธา

                                   2.  สิทธิกลุ฽มทางวัฒนธรรมและกลุ฽มชาติพันธุแ จะต฾องได฾รับการคุ฾มครองทั้งในฐานะที่เป็น
                                       สมาชิกของสังคม ความเป็นมนุษยแ มีศักดิ์ศรี อิสระ ความเท฽าเทียม กับกลุ฽มอื่นๆใน
                                       สังคม ปลอดพ฾นจากการอคติ การรังเกียจ เบียดขับทางชาติพันธุแ และการถูกกีดกัน
                                       จากระบบทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และวัฒนธรรม







                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66