Page 56 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 56

๕๕

                     สรุปภาพรวม / ให๎ข๎อคิดเห็น โดย คุณนฤทธิ์  ดวงสุวรรณ์ และคุณพิชยา แก๎วขาว


                     ปใญหาที่เกิดขึ้นกับชุมชนมี 2 ส฽วนคือ กลุ฽มผู฾กระท า และกลุ฽มผู฾ถูกกระท า 2 กลุ฽มนี้มีมุมมองต฽างกัน เจ฾าของ

              ปใญหาคือ ชุมชนมีแนวคิดต฾องการจัดการตนเอง โดยใช฾พื้นที่และเครือข฽าย รวมทั้งยอมรับความหลากหลายทั้งภาษา

              ศาสนา และวัฒนธรรม ในการท างานร฽วมกัน ทุกกลุ฽มมองว฽าวิถีชีวิตอิงอยู฽กับฐานทรัพยากรทุกประเภทในภาคใต฾ ใน
              การด ารงชีวิตจึงต฾องใช฾ภูมิปใญญาท฾องถิ่น ใช฾ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นหลัก

                     ปใญหาจากกลุ฽มผู฾กระท า ส฽งผลกระทบต฽อเครือข฽ายต฽างๆ จากหลักคิดต฾องการพัฒนาให฾เป็นเอกภาพหนึ่ง
              เดียว ก฽อให฾เกิดแรงต฾าน เมื่อพูดแผนพัฒนาต฽างๆ แนวคิดเรื่องความเจริญ ความทันสมัย ทุนไร฾พรมแดนยังคง

              ครอบง า และมีการด าเนินการอย฽างต฽อเนื่อง ส฽วนความรู฾สึกของผู฾ถูกกระท า หรือการใช฾อ านาจพิเศษจัดการกับผู฾
              ขัดขวางความเจริญ ผู฾ที่คิดต฽าง การกีดกันการเข฾าถึงความช฽วยเหลือสนับสนุน ซึ่งเกิดจากมุมมองการพัฒนาที่ต฽างกัน

              ส฽งผลให฾เกิดการกดดันชนกลุ฽มน฾อยที่ถูกมองว฽า เป็นผู฾ขัดขวางความเจริญ โดยมองว฽าไม฽ใช฽คนไทย มีการเลือกปฏิบัติ

              โดยไม฽แยกแยะ
                     นอกจากนี้ยังมีปใญหานโยบายจากส฽วนกลางส฽งตรงถึงพื้นที่ ปากบารา ทะเลสาบสงขลา ที่อยู฽อาศัยของ

              ชาวเล คนพลัดถิ่น พื้นที่ที่ได฾รับผลกระทบโดยตรงจากการพัฒนาอุตสาหกรรม และปใญหาความอยุติธรรมในจังหวัด

              ชายแดนภาคใต฾ ขณะที่ผลกระทบจากภัยพิบัตินับเป็นอีกสาเหตุ ที่ท าให฾ที่ดินท ากินและที่อยู฽อาศัยหลุดมือไปจาก
              ชาวบ฾านในชุมชน นายทุนฉวยโอกาสออกเอกสารสิทธิ์ทับที่ดินชาวบ฾าน ขณะที่ปใญหาจากภัยพิบัติโดยตรง เกิดจากไม฽

              มีการเตือนภัยล฽วงหน฾า ความช฽วยเหลือเข฾าไปถึงพื้นที่ล฽าช฾า ไม฽ทั่วถึง เล฽นพรรคเล฽นพวก
                     สถานการณแทั้งหมด ส฽งผลให฾ฐานทรัพยากรของคนใต฾เสื่อมโทรมลงอย฽างรุนแรง ปใญหาที่พบคือ ใน 3

              จังหวัดชายแดนภาคใต฾ ถูกจ ากัดพื้นที่ทางวัฒนธรรมรัฐไม฽ยินยอมให฾แสดงออก การถูกเบียดเบียนแหล฽งท ากินของ
              ชาวเล ความไม฽เสมอภาคที่คนไทยพลัดถิ่นได฾รับ น ามาสู฽การเคลื่อนไหวของแต฽ละกลุ฽ม จนถูกกล฽าวหาเป็นพวกหัว

              รุนแรง


                     “จากความขัดแย้งแบ่งแยกที่ซับซ้อนมากขึ้น ท าให้ความเป็นอยู่เปลี่ยนไปอย่างชัดเจน นอกจากความ

              ขัดแย้งระหว่างชุมชนกับชุมชนจะเกิดขึ้นแล้ว ยังเกิดความขัดแย้งระหว่างชุมชนกับเอกชน ความขัดแย้งระหว่าง
              ชุมชนกับหน่วยงานของรัฐ ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มนักวิชาการที่ศึกษาโครงการขนาดใหญ่กับกลุ่มผู้ได้รับ

              ผลกระทบ”

                     สถานการณแของกลุ฽มสตรีก็ซับซ฾อนเช฽นกัน โดยเฉพาะความเท฽าเทียมทางวัฒนธรรม ที่น ามาสู฽การกดขี่ผู฾หญิง
              เช฽น มีภรรยา 4 แล฾วไม฽เลี้ยงดู เมื่อมีปใญหาก็หย฽าร฾างกัน ส฽งผลให฾เกิดปใญหาการศึกษา เศรษฐกิจ การดูแลบุตร

              ครอบครัวที่ไม฽มั่นคง ซึ่งมีผลกระทบต฽ออนาคตของชาติ ขณะที่คุณภาพในการจัดการด฾านการศึกษาด฾อยลง ส฽งผลให฾
              ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาลดลง เด็กถูกจัดการให฾เหมือนกันทั่วประเทศ เด็กในโรงเรียนตกเป็นเหยื่อของความรุนแรง

              และความแตกแยก






                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61