Page 57 - รายงานสรุปโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ ชุมคน ชุมชน คนใต้ ครั้งที่ 3
P. 57

๕๖

                     เรื่องทั้งหมดต฾องการการพัฒนาแกนน า เพิ่มศักยภาพในการจัดการครอบครัวให฾กับกลุ฽มสตรี ต฾องสร฾างความ

              มั่นใจที่จะลุกขึ้นมายืนหยัดและต฽อสู฾กับปใญหา ขณะที่รัฐใช฾ความกลัวเป็นเครื่องมือจัดการคน ชุมชนต฾องใช฾ความกลัว
              เป็นโอกาสในการยืนหยัดต฽อสู฾กับปใญหา ต฾องมีกระบวนการจัดการกลุ฽มและเครือข฽าย ทั้งด฾านทุน การศึกษา สร฾าง

              ความเข฾มแข็ง และการรับมือภัยพิบัติ พร฾อมกันไปกับการเคลื่อนไหวเพื่อปกปูองสิทธิ์ ที่กระทบจากแผนพัฒนา จาก

              การจัดการที่ดิน และการรุกเข฾าของธุรกิจการท฽องเที่ยว ที่กระทบต฽อชาวเลโดยตรง


                     “ส าหรับการเคลื่อนไหวเชิงนโยบายของภาคใต้ ตอนนี้มีการน าเสนอเแผนพัฒนาภาคใต้ที่คนภาคใต้ต้องการ
              การเสนอรูปแบบการจัดการการศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของตัวเอง มีกองทุนพัฒนาสตรี การ

              พัฒนาสร้างความมั่นคงความยั่งยืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เริ่มเห็นเป็นรูปธรรมบ้างแล้ว


                     ภายใต฾การขับเคลื่อนกิจกรรมทั้งหมด ประเด็นส าคัญอยู฽ที่การพัฒนาศักยภาพของคน การเรียนรู฾

              ประสบการณแทั้งด฾านลึก และด฾านกว฾างข฾ามพื้นที่ ข฾ามประเด็น ข฾ามภาค”
                     อีกส฽วนที่ส าคัญคือ การจัดกระบวนการโต฾ตอบของชุมชน การจัดการตนเองให฾เป็นที่ปรากฏ ท าให฾กิจกรรม

              ต฽างๆ ในระดับพื้นที่มีความยั่งยืน มีการขับเคลื่อนเชิงรุกไปถึงท าเนียบรัฐบาล ไปถึงศูนยแกลางอ านาจ ซึ่งจะต฾องเพิ่ม

              พื้นที่สื่อสารให฾กับภาคพลเมือง ทั้งในระดับพื้นที่ ระดับเครือข฽าย และระดับประเทศ
                     ส าหรับความก฾าวหน฾าของชุมชนที่เห็นชัดเจนคือรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียง ที่น าหน฾าสังคมไปแล฾ว แต฽ยังไม฽

              แสดงออกมาให฾เห็นชัดๆ เป็นการสร฾างความพร฾อมที่จะเผชิญหน฾ากับเสรีอาเซียน ในมิติที่มากกว฽าเศรษฐกิจขณะที่
              ศักยภาพด฾านการศึกษาของคนรุ฽นใหม฽ดีขึ้นอย฽างเห็นได฾ชัด มีรูปแบบการศึกษาหลายรูปแบบ ตั้งแต฽โรงเรียนตาดีกา

              ปอเนาะ การจัดการศึกษาของรัฐ ความก฾าวหน฾าที่น฽าสนใจคือ การจัดการภัยพิบัติด฾วยตัวเองของประชาชนที่ตื่นตัว มี
              การวางแผน มีการท าข฾อมูล จนสามารถจัดการตัวเองได฾เรียบร฾อย และความก฾าวหน฾าในกลุ฽มชาติพันธุแในมิติและ

              ประเด็นต฽างๆ เช฽น ความมั่นคงในชีวิต การศึกษา และพัฒนาเยาวชน การพัฒนาฐานอาชีพ การดูแล

              ทรัพยากรธรรมชาติ
                     ความก฾าวหน฾าที่เห็นได฾ชัดอีกอย฽างคือ การพัฒนาสตรีเข฾าสู฽มิติต฽างๆ โดยใช฾วัฒนธรรมการเลี้ยงลูก วัฒนธรรม

              ความเป็นอยู฽ วัฒนธรรมการท ามาหากิน วัฒนธรรมการใช฾ชีวิตในครอบครัว วัฒนธรรมศาสนา เป็นเครื่องมือจัดตั้ง
              เครือข฽ายต฽างๆ ส฽วรความก฾าวหน฾าอีกเรื่องคือ การใช฾จุดอ฽อนจากที่ถูกระแวง ไม฽ได฾รับการยอมรับ เป็นโอกาสในการ

              สร฾างชุมชนศรัทธา จนเกิดการยอมรับในสังคมเพิ่มขึ้น สามารถสร฾างความสงบ สันติสุข สมานฉันทแ ได฾อย฽างเป็น

              รูปธรรมและเป็นกระบวนการ เปิดให฾ภาคีท าประโยชนแเพื่อส฽วนรวมร฽วมกันได฾


                     “รัฐต้องปรับวิธีคิดในการพัฒนา ด้วยการให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมจริงๆ รัฐต้องพร้อมที่จะรับข้อเสนอ
              จากประชาชน รัฐต้องทบทวนและหยุดโครงการต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชนท้องถิ่น และหันมาฟังประชาชน หยุด

              สนับสนุนให้ประชาชนทะเลาะกันในชุมชน เพื่อผลักดันโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ รัฐต้องขยายเครือข่าย ดึงภาคส่วน






                         รายงานโครงการประชุมวิชาการระดับชาติ  ชุมคน ชุมชน คนใต฾  ครั้งที่ ๓ เสียงจากผู฾ไร฾สิทธิชายแดนใต฾
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62