Page 16 - คู่มือปฏิบัติงาน-การใช้ประโยชน์จากกลไกล
P. 16

ในกรณีนี้ โดยที่การละเมิดสิทธิมนุษยชนใน

                 เรื่องการจับกุมโดยอ าเภอใจ รวมถึงสิทธิ
                ของผู้ถูกจับกุม คุมขังในขณะที่รอค า
                พิพากษา เป็นปัญหาหนึ่งของไทย ก็อาจ

                ติดตามรายงานของคณะท างาน ตลอดจน
                 อาจมีข้อเสนอแนะให้รัฐบาลไทยควร



                 ตอบรับค าขอมาเยือนประเทศไทยของ
                คณะท างานดังกล่าว เป็นต้น




               กลไกตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน: วิธีการใช้ประโยชน์


                       กลไกตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (Treaty-based mechanisms) หมายถึง กลไกที่
               จัดตั้งขึ้นตามอาณัติที่สนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนก าหนด ประกอบด้วย คณะกรรมการ

               ผู้เชี่ยวชาญที่เป็นอิสระซึ่งได้รับการเสนอชื่อและเลือกตั้งจากรัฐภาคี มีระยะเวลาการด ารงต าแหน่ง

               4 ปี มีหน้าที่หลักในการให้ข้อคิดเห็นทั่วไป (General Comments) เกี่ยวกับการตีความข้อบทและ
               การน าไปปฏิบัติให้สอดคล้องกับพันธกรณีของรัฐภาคี การพิจารณารายงานการปฏิบัติตามพันธกรณี
               ที่รัฐภาคีจะต้องเสนอให้คณะกรรมการเป็นประจ าตามระยะเวลาที่ก าหนด นับตั้งแต่รายงานฉบับแรก

               (Initial Report) และรายงานตามช่วงเวลา (Periodic Reports) หลังการพิจารณา คณะกรรมการฯ

               จะให้ข้อสังเกตโดยสรุป (Concluding Observations) ว่าประเทศนั้นยังคงมีข้อห่วงกังวลใดในการ
               ปฏิบัติตามพันธกรณีและจะมีข้อเสนอแนะ (Recommendations) ว่ารัฐภาคีควรด าเนินการใดบ้าง

               นอกจากนี้ คณะกรรมการฯ ยังมีหน้าที่พิจารณาเรื่องร้องเรียนต่อรัฐภาคี (individual complaints
               procedures) และการไต่สวนกรณีมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน (inquiry procedure) กรณีที่มีข้อมูล

               ว่ารัฐภาคีละเมิดสิทธิมนุษยชนนั้น ๆ อย่างร้ายแรงหรือเป็นระบบ (serious, grave or systematic
               violations) ทั้งนี้ รัฐภาคีต้องให้ความยินยอมหรือยอมรับอ านาจหน้าที่ของคณะกรรมการฯ ในเรื่อง

               ดังกล่าวก่อน

                       ปัจจุบัน มีกลไกตามสนธิสัญญา 10 คณะ ประกอบด้วยคณะกรรมการประจ าสนธิสัญญาหลัก
               9 ฉบับ ได้แก่ Human Rights Committee (CCPR), Committee on Economic, Social and
               Cultural Rights (CESCR), Committee on the Elimination of Racial Discrimination (CERD),

               Committee on the Elimination of Discrimination against Women (CEDAW), Committee

               against Torture (CAT), Committee on the Rights of the Child (CRC),  Committee on the
               Rights of Persons with Disabilities (CRPD), Committee on Enforced Disappearances

               (CED) ส าหรับกลไกรับเรื่องร้องเรียนของ Committee on Migrant Workers (CMW) ยังไม่มีผลบังคับ


                                                                                                หน้า ๑๖
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21