Page 126 - ภาษาเพศในสังคมไทย : อำนาจ สิทธิและสุขภาวะทางเพศ
P. 126
สวนที่ 3 การปฏิบัติทางเพศ: ชวยตัวเอง 109
ความเชื่อเหลานี้นอกจากอยูบนชุดวิธีคิดเรื่องคุณคา ความหมายใน
เรื่องเพศแลว คําถามทั้งจากผูชายและผูหญิงเหลานี้ยังสะทอนถึงระดับคุณคา
ความหมาย และมาตรฐานในเรื่องเพศวิถีที่แตกตางกันอยางสิ้นเชิงดวย
กลาวคือ คําถามของผูชายมักจะสะทอนถึงคุณคาลักษณะความเปนชาย เชน
ชวยตัวเองมากๆ จะเปนหมันหรือไม จะเกิดความผิดปกติทางดานจิตใจ
หรือเปลา ชวยตัวเองกี่ครั้งถึงจะพอดี เปนตน แตในขณะที่ผูหญิงนั้นมักกังวล
และคํานึงถึงคุณคา หรือภาพลักษณทางเพศที่สังคมอาจตีตรา เชน หาก
แตงงานแลวจะสามารถชวยตัวเองไดอีกหรือไม หรือความกังวลในเรื่อง
ความบริสุทธิ์กับการชวยตัวเอง ความรูสึกผิดที่ตอบสนองความสุขทางเพศ
ของตนดวยการชวยตัวเอง เปนตน
เมื่อใดก็ตามที่คนในสังคมวัฒนธรรมไทยสามารถรื้อสรางแนวคิดใน
เรื่องเพศใหม และชวยกันประกอบสราง และยอมรับชุดความคิดเกี่ยวกับ
สิทธิทางเพศที่ไมวาใคร เพศใด วัยใด ชนชั้นใดก็มีสิทธิในการตอบสนอง
ความสุขทางเพศของตนในวิถีทางที่ตนเลือก โดยไมไดสงผลกระทบในเชิงลบ
กับผูอื่นและตนเอง เมื่อนั้นความเชื่อและความไมเสมอภาคกับการชวยตัวเอง
ก็คงจะเลือนหายไปจากระบบเพศวิถีของคนในสังคมที่ฝงรากลึกไดอยาง
ไมยากนัก
ในมุมมองดานสุขภาวะทางเพศ การชวยตัวเองเปนเพศวิถีรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งสะทอนถึงความเชื่อในเรื่องของจินตนาการ ความหฤหรรษ และความสุข-
ทางเพศวาเปนสิ่งที่เกิดขึ้นได มีอยูจริง และเปนวิธีการหนึ่งในการตอบสนอง
ความสุขทางเพศสําหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น
นอกจากนั้นการชวยตัวเองยังเปนเพศสัมพันธที่ปลอดภัยในอีกรูปแบบ
หนึ่ง ซึ่งถูกนํามาใชเปนยุทธศาสตรในการรณรงคปองกันการตั้งครรภที่ไมพรอม
โรคติดตอทางเพศสัมพันธ และเอดสดวย ดังที่ปรมาจารยเพศศาสตรที่ชื่อวา
อัลเฟรด คินซีย ไดกลาวถึงวา “การชวยตนเองเปนทางออกที่ปลอดภัย
ทางหนึ่งที่สามารถเลือกปฏิบัติได ถือวาเปน “เซ็กส” ที่ปลอดภัย”
16
16 พันธศักดิ์ ศุกระฤกษ (น.พ.). “ศาสตรของการมีความสุขดวยตัวเอง” เนชั่นสุดสัปดาห ปที่ 8 ฉบับ
ที่ 423 วันที่ 10-16 กรกฎาคม 2543.
รณภูมิ สามัคคีคารมย