Page 91 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 91

ตารางที่ ๕.๓.๑ การประกาศเขตปาทับที่ดินของประชาชน ๑๓  กรณี *


                คำรองที่       เรื่องรองเรียน                ความเห็นของ กสม.                                                                 มาตรการแกไข / ขอเสนอแนะนโยบาย โดย กสม.

              ๖๑๖/๒๕๔๗       กรณีการประกาศเขต          ชุมชนในตำบลละมอ ตั้งถิ่นฐานมาอยางนอยตั้งแต                        มาตรการแกไข


              รายงานผลการ    อุทยานเขาปู-เขายา  กอนสงครามโลกครั้งที่  ๒  ตอมาที่ดินทำกินไดรับการ                             ๑. ใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ปรับปรุงแผนที่กำหนดแนวเขตอุทยานแหงชาติ
              ตรวจสอบที่     ทับที่ทำกินของราษฎร สืบทอดมรดกหรือบุกเบิกเพิ่มเรื่อยมา  จากหลักฐาน                             ใหม โดยกันพื้นที่ตำบลละมอออกจากเขตอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา ในแผนที่แนบทายพระราช
              ๒๗๖/๒๕๕๐       ใน  ต.ละมอ  อ.นาโยง   เอกสารชี้ใหเห็นวาการกำหนดเขตอุทยานแหงชาติเกิด                         กฤษฎีกาฯ ภายใน ๑๒๐ วัน นับตั้งแตไดรับรายงานฉบับนี้
              ลงวันที่       จ.ตรัง              จากความผิดพลาดบกพรองของเจาหนาที่                                              ๒. ใหกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ยกเลิกการดำเนินการใดๆ ทั้งทางอาญาและทาง
              ๑๓ ก.ย. ๒๕๕๐                             การประกาศเขตอุทยานแหงชาติเขาปู-เขายา ไม                          แพง รวมทั้งการมีคำสั่งใหทำลายอาสิน
                                                 ระบุ ต.ละมอ แตในการกำหนดพื้นที่กลับครอบคลุมวา                                  ๓. ใหกองทุนสงเคราะหการทำสวนยางระงับคำสั่งชะลอการรับเงินจากกองทุนสงเคราะหการทำ
                                                 ตำบลละมอ อยูในเขตอุทยานแหงชาติ ซึ่ง ต.ละมอไดแยก                         สวนยาง ที่มีตอนายเสิด แทนมาก นางเงิน ทองสม และนางมาลี ดำคง โดยทันที นับแตวันที่ไดรับ
                                                 ออกมาจากหมูที่ ๓ ต.กะชอง เมื่อป พ.ศ.๒๔๘๔ แตรัฐ                         รายงานการตรวจสอบฉบับนี้ และทบทวนการดำเนินการใดๆ ในทำนองเดียวกันตอราษฎรรายอื่นๆ ที่มี

                                                 ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดบริเวณที่ดินปาเทือกเขา                               ขอเท็จจริงอยางเดียวกัน
                                                 บรรทัดในทองที่ ๑๗ ตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช ตรัง                         ขอเสนอแนะ
                                                 และพัทลุงใหเปนอุทยานแหงชาติ พ.ศ.๒๕๒๕                                          ๑. ใหชุมชนและราษฎรที่มีขอโตแยงแนวเขตอุทยานแหงชาติมีสวนรวมกำหนดแนวเขตอุทยาน
                                                       ดังนั้นการประกาศเขตอุทยานแหงชาติเขาปู-เขา                          แหงชาติ ดวยการรังวัดพื้นที่ประกอบกับหลักฐานภาพถายทางอากาศและหลักฐานแวดลอมอื่นๆ ของชุมชน
                                                 ยา ทับที่ทำกินของราษฎร การแจงความดำเนินคดี การมี                               ๒. กอนประกาศเขตอุทยานฯ ตองใหราษฎรและชุมชนไดรับรูขอมูลและมีสวนรวมอยางชัดเจน
                                                 คำสั่งใหทำลายอาสิน การเรียกคาเสียหายทางแพง และ                          รวมทั้งใหกำหนดระยะเวลาและกระบวนการคัดคานการประกาศเขตอุทยานแหงชาติของชุมชนใหชัดเจน
                                                 การมีคำสั่งใหชะลอการรับเงินจากสำนักงานกองทุน                              และใหปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๔ ใหรับรองสิทธิชุมชนในการจัดการ
                                                 สงเคราะหการทำสวนยาง (สกย.) เปนการละเมิดสิทธิ                             ทรัพยากร
                                                 ราษฎรในตำบลละมอ                                                                  ๓. ใหราษฎรสามารถโคนตนยางเกาเพื่อปลูกยางใหมทดแทนในแปลงที่ดินทำกินแตเดิมได

                                                                                                                            เนื่องจากเปนวิถีการทำสวนยางที่มีมาแตดั้งเดิมของภาคใต โดยใหคณะกรรมการชุมชนรวมตรวจสอบ
                                                                                                                            และกำหนดแผนการจัดการพื้นที่ทำกินและพื้นที่ปาชุมชน เพื่อไมใหมีการตัดโคนไมยางพาราในแปลงที่
                                                                                                                            บุกรุกใหม


              ๙/๒๕๔๘         กรณีถูกจับกุมเรื่อง       มีมติใหยุติการตรวจสอบ ตามพระราชบัญญัติคณะ

              รายงานผลการ    บุกรุกปา           กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๒๒
              ตรวจสอบที่     และมีไมหวงหาม     เนื่องจากเปนประเด็นเดียวกับการพิจารณาของศาล
              ๕๔๘/๒๕๕๐       (นายดวงดี  มลสุ)
              ลงวันที่       จ.ลำปาง
              ๒๗ ธ.ค.๒๕๕๐





            * ตารางที่ ๕.๓.๑-๕.๓.๖ มีการปรับปรุงฐานขอมูลเพิ่มเติมจากรายงานการศึกษา ที่มีขอบเขตถึง ๓๐ กันยายน
            ๒๕๔๙  ใหสมบูรณขึ้นจนถึง ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๐ โดย ยุพยงศ สมหวัง , บก.



                    เสียงจากประชาชน
            90      การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96