Page 159 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 159

๕.๓.๖  ชุมชนมีสวนรวมในการจัดการพื้นที่ปา


                คำรองที่       เรื่องรองเรียน               ความเห็นของ กสม.                                                                มาตรการแกไข / ขอเสนอแนะนโยบาย โดย กสม.


              ๒๖๒/๒๕๔๖       กรณีกลุมอนุรักษลุมน้ำ  ๑. เจาหนาที่ของกรมปาไมและกรมอุทยานแหง                           มาตรการการแกไข

              รายงานผลการ    ฝาง ๓ อำเภอรองเรียน  ชาติ สัตวปา และพันธุพืช ละเวนปฏิบัติหนาที่ในการแกไข                      ๑. ใหกรมปาไมและกรมอุทยานแหงชาติฯ ดำเนินการกับผูประกอบการกิจการสวนสมที่บุกรุก
              ตรวจสอบที่     ประชาชนลุมน้ำฝางได ปญหาการบุกรุกปาไมและกรมอุทยานแหงชาติ จนสงผล                          พื้นที่ปาสงวนแหงชาติและอุทยานแหงชาติ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
              ๓๔๙/๒๕๕๐       รับความเดือดรอนจาก       กระทบกับความอุดมสมบูรณของปาไมในพื้นที่ลุมน้ำฝาง                        ๒. ใหจังหวัดเชียงใหมรวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นดำเนินการสำรวจการบุกรุกที่สาธารณ
                             กิจการสวนสมขนาด ๓ อำเภอ และทำใหราษฎรในพื้นที่สูญเสียปาในแหลงฐาน                            ประโยชนของผูประกอบการสวนสมขนาดใหญ และดำเนินคดีกับผูบุกรุก ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ได
                             ใหญ                ทรัพยากรที่เคยใชประโยชนเพื่อการยังชีพโดยเฉพาะการ                         รับรายงานฉบับนี้
                             อ.ฝาง               หาอาหาร อันเปนการละเมิดสิทธิของชุมชนตามรัฐธรรมนูญ                               ๓. ใหรัฐบาลดำเนินการออกประกาศใหกิจการสวนสมเปนกิจการที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และ
                             อ.ไชยปราการ         แหงราชอาณาจักรไทย ๒๕๔๐ มาตรา ๔๘  และมาตรา ๕๖                              การออกประกาศพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอมในลุมน้ำฝาง ภายใน ๙๐ วัน  นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้

                             อ.แมอาย                  ๒. การบุกรุกเขาครอบครอง การขัดขวางการเขา                                 ๔. ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นรวมกับกลุมผูใชน้ำดำเนินคดีกับผูกระทำความผิดตามพระราช
                             จ.เชียงใหม         ถึงทรัพยากรสวนรวม และการใชทรัพยากรสวนรวมโดย                             บัญญัติชลประทานราษฎร พ.ศ.๒๔๘๒ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 เฉพาะน้ำ และทางสาธารณะโดยไมปฏิบัติตามกฎจารีต                                    ๕. ใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดำเนินการใหผูประกอบการสวนสมรับผิดชอบ
                                                 ประเพณีของทองถิ่นของผูประกอบการสวนสมขนาดใหญ                            ชดใชคาสินไหมทดแทนหรือคาเสียหาย เนื่องจากการแพรกระจายของมลพิษอันเปนเหตุใหผูอื่นไดรับ
                                                 เปนการกระทำที่ละเมิดสิทธิชุมชน ตามรัฐธรรมนูญแหง                          อันตรายแกชีวิต รางกาย และสุขภาพอนามัย ตามมาตรา ๙๖ หมวด ๖ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและ
                                                 ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๔๖ และ พระราช                                รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.๒๕๓๕
                                                 บัญญัติการชลประทานราษฎร พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๖

                                                 มาตรา ๗  และมาตรา ๑๐                                                       ขอเสนอแนะ
                                                       ๓. การใชสารเคมีอยางเขมขนของผูประกอบการ                                ๑. ใหรัฐบาลดำเนินการตรากฎหมายเกี่ยวกับการกำกับและการควบคุมการใชสารเคมีในระดับ
                                                 สวนสมขนาดใหญในพื้นที่ลุมน้ำฝาง ๓ อำเภอ ไดกอให                        แปลง อันมีผลกระทบกับคนในทองถิ่นและสิ่งแวดลอม
                                                 เกิดผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของคนทองถิ่น ผลกระทบที่                                ๒. ใหรัฐบาลดำเนินการสงเสริมชุมชนในการบริหารจัดการน้ำเชิงพื้นที่อยางบูรณาการโดยคำนึง
                                                 พบเห็นหลายประการ เชน กลิ่นเหม็นรุนแรง อาการผื่นคัน                        ระบบการจัดการน้ำตามจารีตประเพณีทองถิ่นนั้น ๆ
                                                 และคุณภาพน้ำบอน้ำตื้นที่ใชดื่มไมได รูปธรรมของผล                              ๓. ใหรัฐบาลเรงดำเนินการประกาศเขตพื้นที่คุมครองสิ่งแวดลอม ในพื้นที่ที่เปนตนน้ำลำธารหรือมี
                                                 กระทบเหลานี้ โดยเฉพาะกลิ่นเหม็นรุนแรงที่คณะอนุกรรม                        ระบบนิเวศธรรมชาติที่อาจถูกทำลายหรือไดรับผลกระทบจากกิจกรรมตางๆ ของมนุษยไดโดยงาย
                                                 การฯ พบในการตรวจสอบในพื้นที่ ถือวาเพียงพอตอการ                           ตามมาตรา ๔๓ แหงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาสุขภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ.๒๕๓๕
                                                 สรุปวา ผูรองไดรับผลกระทบทางสุขภาพจากการใชสาร                                ๔. ใหรัฐบาลพิจารณาการจัดตั้งกองทุนดูแลและคุมครองผูไดรับความเสียหายจากปญหามลพิษใน

                                                 เคมีในสวนสม ถือเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน กระทบกับ                         สิ่งแวดลอม พรอมทั้งพิจารณาแนวทางการเก็บคาเสียหายจากผูกอมลพิษ
                                                 สิทธิสวนบุคคลตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
                                                 มาตรา ๕๖
                                                       ๔. การละเวนการปฏิบัติหนาที่เปนการละเมิดสิทธิ
                                                 มนุษยชนและสิทธิชุมชน ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
                                                 ไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๕๖  มาตรา ๖๐  และมาตรา ๖๑






                    เสียงจากประชาชน
            158     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164