Page 157 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 157

ประเภท คือ เอกสารสิทธิรับรองสิทธิสวน แปลงสวนยางเปนทุนตองชะลอไป
            ยาง (ก.ย.ท.๑) และเอกสารรับรองมูลคาไม

            ยาง (ก.ย.ท.๒) ซึ่งสามารถนำไปขอสินเชื่อ           กองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง
            จากสถาบันการเงินได                        (สกย.)  กระทรวงเกษตรและสหกรณ
                  กลุมที่สอง  เกษตรกรสวนยางที่ไดรับ        สำนักงานกองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง
            กองทุนสงเคราะหสวนยาง ที่มีตนยางอายุกวา  จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห
            ๑๕ ป และยังไมสามารถนำมูลคาของไมเขาสู การทำสวนยาง พ.ศ.๒๕๐๓ วัตถุประสงคเพื่อ

            แหลงทุนที่เปนระบบได สามารถสมัครเขารวม ใหการสงเคราะหปลูกแทนยางเกาที่ใหผลนอย
            โครงการกับ อสย. และไดรับเอกสารรับรองมูลคา เปนยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิดอื่นที่มีความ
            ไมยาง (ก.ย.ท.๒) ซึ่งสามารถนำไปขอสินเชื่อ สำคัญทางเศรษฐกิจ

            จากสถาบันการเงินได                              สำหรับการไมใหทุนสงเคราะหสวนยางใน
                  สวนประเด็นการตัดโคนไมยางพาราใน หลายพื้นที่ ก็เนื่องจากมีปญหากรณีสวนยางได
            เขตปาสงวนฯ การแกไขปญหาคือการขอใชใน รับการสงเคราะห ตัดโคนยางแลวถูกปาไมจับกุม
            เรื่องของการตัดไมกอน  เพราะไมมีกฎหมาย ฐานบุกรุกปาสงวนแหงชาติ ดังนั้น สกย. เห็นวา
            บังคับไว และไมใชไมหวงหามในเขตปาสงวน รัฐบาลตองกำหนดพื้นที่อนุญาตเขาทำกินให

            แหงชาติ เปนการไดรับอนุญาตใชประโยชนใน ชัดเจนและเรงออกเอกสารรับรองใหเกษตรกร
            ที่ดินตามมาตรา ๑๖ ทวิ ซึ่งมีแนวทางปฏิบัติคือ   แตถาอยูในเขตปาอนุรักษใหเกษตรกรไปยื่น
               ๑. เรื่องพื้นที่อนุญาตใน ๑๗ จังหวัดที่มีตน คำรองขออนุญาตใชทำกินจากกรมปาไมตอไป

                  ยางพาราอายุ ๑๕ ปขึ้นไป ไมอยูในเขต เมื่ออนุญาตแลวจึงเขาไปทำกินได แตในทาง
                  พื้นที่ปาอนุรักษ  และมีความลาดชันไม ปฏิบัตินั้นมีปญหามากในแตละจังหวัด  ทำให
                  เกิน ๓๕ องศา                         เกษตรกรจำนวนมากไมไดรับอนุญาตทำกิน
               ๒. การตรวจสอบพื้นที่ ประกอบดวยเจาหนาที่

                  จากกรมปาไม กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา    องคการสวนยาง
                  และพันธุพืช องคการสวนยาง กระทรวง         ตามมติคณะรัฐมนตรี ๑๓ มกราคม ๒๕๔๗
                  เกษตรและสหกรณ ในแตละจังหวัด        ที่เสนอโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ เพื่อ
               ๓. การอนุญาตใหทำไม การทำไมยางพารา ชวยเหลือเกษตรกรในปาสงวนแหงชาติ ใหไดรับ

                  ใหตัดออกไดเฉพาะที่มีอายุ ๑๕ ปขึ้นไป  เอกสารสิทธิจากหนวยงานรัฐ เรียกวา กยท.๑
                  หามตัดไมที่ขึ้นอยูตามธรรมชาติ      ตอมามีมติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๑๖ กรกฎาคม
                                                       ๒๕๔๗ โดยขอใหเกษตรกรขึ้นทะเบียนกับองคการ
                  อยางไรก็ตาม มติคณะรัฐมนตรีวันที่ ๒๗  กองทุนสงเคราะหการทำสวนยาง และจะดำเนิน
            ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๘ เห็นชอบขอพิจารณาจาก การใหกลุมที่ยางอายุ ๑๕ ปกอน ณ วันที่สำรวจ

            กระทรวงเกษตรฯ ใหชะลอการออกหลักฐาน และ รังวัดในกรอบใหญเสร็จแลวเมื่อเดือนธันวาคม
            การอนุญาตใหเชาที่ดินที่เปนของรัฐไวเปนการ ๒๕๔๘ เปนพื้นที่ประมาณ ๘๐ เปอรเซ็นตของ
            ชั่วคราว จึงสงผลใหการดำเนินการโครงการ พื้นที่ ๔๐๐,๐๐๐ กวาไร ในเขต ๑๗ จังหวัด แบง


                    เสียงจากประชาชน
            156     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162