Page 115 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 115

คำรองที่       เรื่องรองเรียน               ความเห็นของ กสม.                                                                มาตรการแกไข / ขอเสนอแนะนโยบาย โดย กสม.

                                                        งของไทยในอดีต และจากการสำรวจการถือครอง
                                                 ปกครอ                                                                            ๒. ใหอุทยานแหงชาติแกงกรุงและสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ ๔ รวมทั้งหนวยงานราชการที่
                                                 ของราษฎรในพื้นที่อุทยานแหงชาติแกงกรุงโดยกรมปาไม                        เกี่ยวของตองดำเนินการรับรองสิทธิในที่ดินกับราษฎร ๗๖๖ ราย ที่ไดรับการสำรวจการถือครองและใช
                                                 ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ ก็                          ประโยชนที่ดินตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๑ และตองรงสำรวจการถือครองที่ดิน

                                                 พบวามีราษฎรอาศัยอยูจำนวนมาก                                              ของราษฎรรายที่ตกสำรวจในพื้นที่บานทับทหารโดยเร็ว และใหราษฎรไดมีสวนรวมในกระบวนการ
                                                       ๒) ปญหาการซอนทับกันระหวางพื้นที่แนวเขต                            สำรวจตรวจสอบดังกลาวดวย ทั้งนี้ ภายใน ๔๕ วัน นับตั้งแตไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 อุทยานฯ กับชุมชนบานทับทหาร สืบเนื่องจากการไมมี                           ขอเสนอแนะ
                                                 สวนรวมของประชาชนในการจำแนกและจัดการทรัพยากร                                    ๑. ใหกรมปาไม และกรมอุทยานแหงชาติสัตวปา และพันธุพืช เขาไปสนับสนุนใหราษฏรไดมีสวน
                                                 ปาไมและที่ดิน และการดำเนินการแกไขปญหาพื้นที่ซอน                       รวมกับรัฐในการดูแลรักษาปาอยางยั่งยืน
                                                 ทับตามมติคณะรัฐมนตรี วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๔  และ                                ๒. ใหมีการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดการทรัพยากรปาไม ไดแกพระราชบัญญัติปา
                                                 ๓ เมษายน ๒๕๔๑ เปนไปอยางลาชา และยืดเยื้อ สงผล                          ไม พ.ศ.๒๔๘๔ พระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ พ.ศ.
                                                 ใหชาวบานถูกจับกุมและขาดความมั่นคงในที่ดิน                                ๒๕๐๔ พระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปา พ.ศ.๒๕๓๔ และพระราชบัญญัติสวนปา พ.ศ.๒๕๓๕
                                                       การประกาศเขตอุทยานแหงชาติแกงกรุงซอนทับ                            โดยคำนึงถึงสิทธิชุมชน และใหชุมชน ประชาชนมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรในเขตพื้นที่ปา เพื่อนำ
                                                 ที่ดินทำกินของราษฎรและผูรอง และการแกไขปญหา                             ไปสูความยั่งยืนสมดุล สอดคลองกับระบบนิเวศ ทั้งนี้ในการปรับแกกฎหมาย ควรมีการรับฟงความคิด
                                                 ลาชา ละเมิดสิทธิของผูรอง                                               เห็นของประชาชน ใหประชาชนมีสวนรวมกระบวนการพิจารณาแกไขกฎหมาย


              ๓๒๘/๒๕๔๘,      กรณีการประกาศเขต          ๑) การอพยพชาวบานหวยหวายเปนการละเมิด                               มาตรการในการแกไข
              ๓๕๐/๒๕๔๘       รักษาพันธุสัตวปาภูผา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ทำใหบุคคลขาดความมั่นคงใน                            ๑. คณะทำงานแกไขปญหาการอยูอาศัยและที่ดินทำกินของราษฎรในเขตอุทยานแหงชาติน้ำหนาว
                             แดง และอพยพชาวบาน  การดำเนินชีวิต การอพยพบานหวยหวายเปนการดำเนิน                            ปาสงวนแหงชาติน้ำหนาว และเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง ในพื้นที่อำเภอหลมสัก ควรเรงดำเนินการ
              รายงานผลการ  หวยหวาย              การที่มีการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ทำกิน และ                            กำหนดขอบเขตพื้นที่การครอบครองที่ดินของชาวบานหวยระหงส บานหวยกลทาและบานหวยหวาย เพื่อ
              ตรวจสอบที่     อ.หลมสัก จ.เพชรบูรณ   ละเมิดสิทธิในที่อยูอาศัย ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐                       ใหประชาชนไดรับรูแนวเขตที่ชัดเจน และทำการพิสูจนสิทธิการครอบครองที่ดินของชาวบานตอไป ภายใน
              ๕๕/๒๕๔๙                            มาตรา ๔๖ และ มาตรา ๕๙                                                      ๖๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
              ลงวันที่                                 ๒) การประกาศเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง                                  ๒. เรงใหความชวยเหลือเรื่องที่ทำกินและจายคาทดแทนชาวบานหวยหวายที่ถูกอพยพโยกยาย
              ๒๘ ก.ย. ๒๕๔๙                       เปนการดำเนินการที่มีการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่                        ใหเสร็จสิ้นภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 ทำกิน และสิทธิในที่อยูอาศัย ตามรัฐธรรมนูญแหงราช                                ๓. กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ควรยุติการจับกุมชาวบานที่ทำกินอยูเดิมในเขต

                                                 อาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐  มาตรา ๔๖, ๕๖ , ๕๙                                    พื้นที่พิพาทที่กำลังดำเนินการพิสูจนสิทธิและรังวัดพื้นที่ และเขตรักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง ควรยุติการ
                                                       ๓) การที่เจาหนาที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูผา                       ดำเนินคดีกับชาวบานที่ถูกจับกุมในวันที่ ๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๘  และวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
                                                 แดงจับกุมดำเนินคดีตอชาวบานในลักษณะคุกคามเกิน                                   ๔. แมกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ไดโยกยายนายมนตรี เชียงอารีย หัวหนาเขต
                                                 กวาเหตุ ทั้งที่คณะทำงานที่จังหวัดแตงตั้งมีมติวาจะ                       รักษาพันธุสัตวปาภูผาแดง ออกจากพื้นที่ แตควรมีการตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงถึงพฤติการณ
                                                 เขามาสำรวจ พื้นที่พรอมกันทุกฝายและการประชุมทุก                          ของเจาหนาที่ในการจับกุมและขมขูคุกคามเกินกวาเหตุ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 ฝายรวมกับคณะอนุกรรมการสิทธิในการจัดการที่ดิน
                                                 และปา ชุดที่ ๒ มีมติใหยุติการจับกุม
                                                       การจับกุมดำเนินคดีตอชาวบานทั้งสองกรณีดัง
                                                 กลาวจึงเปนการกระทำที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
                                                 ตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐




                    เสียงจากประชาชน
            114     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120