Page 113 - เสียงจากประชาชน การต่อสู้เพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีร้องเรียน 2545-2550. เล่ม 4 : "ที่ดินในเขตป่าและสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดินและป่า"
P. 113

ตาราง ๕.๓.๒ การใชความรุนแรงของรัฐในการจับกุมประชาชน การขมขูคุกคาม ทำราย
            รางกาย การขนยายทรัพยสิน ทำลายอาสินพืชผล และการอพยพชุมชนออกจากพื้นที่ ๗ กรณี  ๒๒



                คำรองที่       เรื่องรองเรียน                ความเห็นของ กสม.                                                                 มาตรการแกไข / ขอเสนอแนะนโยบาย โดย กสม.

              ๒๕๖/๒๕๔๖       กรณีชาวมง ต.ปากลาง      ๑) ชาวมงบานปากลางมีสิทธิครอบครองและทำ                             มาตรการในการแกไข

              รายงานผลการ    อ.ปว จ.นาน ถูกขับไล ประโยชนบนที่ดินลุมน้ำเปอ-น้ำกอน อ.เชียงกลาง ดังนั้น                        ๑. ใหรัฐบาลชดใชคาเสียหายที่ผูรองประสบตามความเปนจริงและอยางเปนธรรม โดยใหมี
              ตรวจสอบที่     และรื้อถอนตนลิ้นจี่ รวม หนังสือประกาศของอำเภอเชียงกลาง ลงวันที่ ๑๕ ก.พ. ๔๒                    กระบวนการตรวจสอบความเสียหายที่มีผูรองอยูรวมในทุกขั้นตอน ทั้งนี้ ใหรัฐบาลเรงดำเนินกระบวนการ
              ๒๙/๒๕๔๙        ทั้งปลูกปาทับที่ทำกิน   ที่กำหนดใหชาวมงปากลางออกจากพื้นที่ทำประโยชน                       สำรวจความเสียหายใหแลวเสร็จภายใน ๑๒๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้ จากนั้นใหเรงดำเนินการ
              ลงวันที่                           ภายใน ๓๐ วัน ถือเปนการขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราช                             ชดใชคาเสียหายโดยเร็ว
              ๒๖ ก.ค. ๒๕๔๙                       อาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๔, ๓๐ ,๔๖  และ ๔๘                                     ๒. ใหรัฐบาลประสานกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตกร (ธ.ก.ส.) พักชำระหนี้ให
                                                       ๒) การปลูกปาซอนในพื้นที่สวนลิ้นจี่ และการตัด                       ชาวมงบานปากลาง จากการปลูกลิ้นจี่ที่ถูกทำลาย ทั้งนี้ ใหมีผลภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงาน
                                                 ฟนตนลิ้นจี่ของชาวบานปากลาง ของทุกฝายที่เกี่ยวของ                     ฉบับนี้
                                                 โดยเฉพาะอยางยิ่งบทบาทเจาหนาที่ของรัฐระดับสูง จึง                              ๓. ใหรัฐบาลเรงรัดดำเนินการรับรองสิทธิทำกินของชาวบานทุกกลุม  ตามผลการตรวจสอบพิสูจน
                                                 เปนการกระทำที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน                                          การครอบครองที่ดินของจังหวัดนาน ถาจำเปนตองมีการอพยพผูมีสิทธิในที่ทำกินแตอยูในกรณีพื้นที่
                                                       ๓)  กระบวนการแกไขปญหาการรองทุกข โดย                              กระทบตอระบบนิเวศ ตองมีมาตรการชวยเหลือหาที่ทำกินใหม และพิจารณาชวยเหลือผูที่ไมมีที่ดินทำกิน
                                                 จังหวัดนาน และหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ เปนการ                         ที่ตองอพยพออกจากพื้นที่ปาตนน้ำดังกลาวดวย ทั้งนี้ ภายใน ๑๒๐ วัน นับแตวันที่ไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 ละเมิดสิทธิในการรองทุกขและไดรับการพิจารณาในเวลา                         ขอเสนอแนะ
                                                 อันสมควร ตามมาตรา ๖๑ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐                                         ๑. ใหรัฐบาลสนับสนุนจังหวัดนานใหมีโครงการสรางความรวมมือระหวางทุกฝายในการดำเนิน
                                                                                                                            ชีวิตในพื้นที่พิพาทเดิมอยางสันติสุข โดยเคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย

                                                                                                                                  ๒. ใหรัฐบาลสนับสนุนจังหวัดนาน ใหมีโครงการบริหารจัดการการใชทรัพยากรน้ำบนลุมน้ำเปอ-
                                                                                                                            น้ำกอน อยางยั่งยืน  โดยใหมีความรวมมือจากทุกภาคสวน ทั้งชาวไทยที่สูงและชาวไทยพื้นราบ
                                                                                                                                  ๓. รัฐบาลควรนำปญหาความขัดแยงที่เกิดขึ้นบนลุมน้ำเปอ-น้ำกอน ใหเปนกรณีศึกษาที่กวางขวาง
                                                                                                                            และนำสูกระบวนการแกไขปญหาความขัดแยงอยางสันติวิธี

              ๒๗๖/๒๕๔๘       ก ร ณี ก า ร ป ร ะ ก า ศ    ๑) สภาพพื้นที่ชุมชนบานทับทหาร สวนใหญมี                          มาตรการแกไข


              รายงานผลการ    อุทยานแหงชาติแกงกรุง สภาพเปนสวนยางพาราที่โตเต็มที่ราษฎรสามารถกรีดน้ำ                              ๑. ใหจังหวัดสุราษฎรธานีปรับปรุงองคประกอบคณะทำงานแกไขปญหาพื้นที่ปาไมจังหวัด
              ตรวจสอบที่     ทับซอนบานทับทหาร  ยางพาราได และมีรองรอยพื้นที่บางสวนที่มีการโคนยาง                       สุราษฎรธานี ตามคำสั่งจังหวัดสุราษฎรธานี ที่ ๔/๒๕๔๔ ลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๔ เรื่องแตงตั้งคณะ
                             หมูที่  ๒๔  ต.ประสงค  พาราและทำการปลูกใหมประมาณ ๑ รอบชวงอายุยาง
              ๒๙๒/๒๕๕๐       อ.ทาชนะ            พารา ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการอยูอาศัยและใชประโยชน                          ทำงานระดับพื้นที่เพื่อแกไขปญหาพื้นที่ปาไม ในเขตอุทยานแหงชาติแกงกรุง อำเภอทาชนะ อำเภอไชยา
              ลงวันที่       จ.สุราษฎรธานี      ที่ดินของราษฎรในพื้นที่ไมต่ำกวา  ๒๐  ป  และหาก                          อำเภอทาฉาง กิ่งอำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งเปนคณะทำงานที่แตงตั้งภายใตมติคณะรัฐมนตรี
              ๑๔ ก.ย. ๒๕๕๐                                                                                                  เมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๔๔ โดยใหราษฎรมีสวนรวมในการแกไขปญหาการซอนทับของพื้นที่อุทยาน
                                                 พิจารณาถึงสภาพขอเท็จจริงทางดานประวัติศาสตรชุมชน                         แหงชาติแกงกรุงและที่ดินทำกิน ที่อยูอาศัยของชุมชนบานทับทหาร รวมทั้งการแกไขปญหาพื้นที่ปาถูก
                                                 เห็นวาการกอเกิดของชุมชน  เปนผลพวงมาจากการ                               บุกรุกทำลายภายในเวลา ๓๐ วัน นับตั้งแตไดรับรายงานฉบับนี้
                                                 เปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การ




            ๒ ๒  บางกรณีมีการใชความรุนแรงหลายลักษณะรวมกัน


                    เสียงจากประชาชน
            112     การตอสูเพื่อสิทธิในที่ดิน กรณีรองเรียน ๒๕๔๕-๒๕๕๐
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118