Page 66 - กฎหมายและระเบียบงานด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
P. 66

ในกรณีที่การตรวจเรื่องร้องเรียนจ าเป็นต้องมีการแสวงหาข้อเท็จจริงตามข้อ ๑๕ วรรคสอง

                  ให้เจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนด าเนินการและจัดท าบันทึกสรุปเรื่องร้องเรียนตามวรรคหนึ่ง แล้วเสนอ
                  คณะกรรมการภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับมอบหมาย เพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาไปตามข้อเท็จจริง
                  และพยานหลักฐานเท่าที่มีอยู่

                         เรื่องร้องเรียนที่จะเสนอให้คณะกรรมการรับไว้เป็นค าร้อง ต้องปรากฏข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐาน
                  พอสมควรที่ท าให้เห็นว่ามีมูลอันสมควรได้รับการตรวจสอบด้วย

                         ก่อนการพิจารณาบันทึกสรุปเรื่องร้องเรียน คณะกรรมการอาจก าหนดให้มีกระบวนการกลั่นกรอง
                  เรื่องร้องเรียนด้วยก็ได้ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาในการด าเนินการ ให้เป็นไปตามที่
                  คณะกรรมการก าหนด

                         บันทึกสรุปเรื่องร้องเรียนตามข้อนี้ ให้เป็นไปตามแบบที่คณะกรรมการก าหนด โดยอย่างน้อย
                  ต้องมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
                                           ๗
                         (๑) ชื่อของผู้ร้องและผู้ถูกร้อง
                         (๒) สรุปข้อเท็จจริงตามเรื่องร้องเรียนและความประสงค์ของผู้ร้อง
                         (๓) ความเห็นของเจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียน พร้อมด้วยเหตุผลที่มีความเห็นดังกล่าว


                         ข้อ ๑๗ ในกรณีที่เรื่องร้องเรียนใดมีลักษณะตามมาตรา ๓๙ ให้เจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียน
                  ท าความเห็นเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณาไม่รับไว้เป็นค าร้อง

                         นอกจากกรณีตามวรรคหนึ่ง เจ้าหน้าที่รับเรื่องร้องเรียนอาจท าความเห็นเสนอคณะกรรมการ
                  เพื่อพิจารณาไม่รับเรื่องร้องเรียนใดไว้เป็นค าร้องได้ หากเรื่องร้องเรียนนั้นมีลักษณะดังต่อไปนี้

                         (๑) เรื่องที่ข้อเท็จจริงไม่เพียงพอต่อการพิจารณาและไม่สามารถติดต่อผู้ร้องได้ทั้งการพิจารณาต่อไป
                  จะไม่เป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยส่วนรวม
                         (๒) เรื่องที่ผู้ร้องประสงค์ขอถอนเรื่องร้องเรียน ทั้งนี้ การถอนเรื่องร้องเรียนต้องมีหนังสือ

                  ลงลายมือชื่อผู้ร้องประกอบการพิจารณาด้วย
                         (๓) เรื่องที่คณะกรรมการเคยพิจารณาแล้ว และไม่ปรากฏหลักฐานหรือข้อเท็จจริงใหม่อันอาจท า

                  ให้ผลการพิจารณาเปลี่ยนแปลงไป
                         (๔) เรื่องที่ผู้ได้รับความเสียหายไม่ประสงค์ให้คณะกรรมการตรวจสอบ
                         (๕) เรื่องอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด

                         ในระหว่างการตรวจสอบตามหมวด ๓ หากพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบค าร้องเห็นว่าค าร้องใด
                  มีลักษณะตามวรรคสอง  อาจท าความเห็นเสนอคณะกรรมการเพื่อพิจารณายุติเรื่องได้  โดยให้ด าเนินการ

                  ตามข้อ ๓๓ วรรคสี่ ต่อไป

                         ข้อ ๑๘  เรื่องร้องเรียนใดที่คณะกรรมการเห็นว่าควรรับไว้เป็นค าร้องเพื่อด าเนินการประสาน
                                ๘
                  การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนกับหน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน หรือองค์กรอื่นใดในด้านสิทธิมนุษยชน
                  ให้ส านักงานส่งเรื่องดังกล่าวให้หน่วยงานหรือองค์กรนั้นพิจารณาด าเนินการตามหน้าที่และอ านาจ
                  ภายในระยะเวลาที่ก าหนด



                         ๗  ข้อ ๑๖ วรรคห้า แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
                  ในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓
                         ๘  ข้อ ๑๘ แก้ไขเพิ่มเติมโดยระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการ
                  ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓



                                                                                                                  60
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71