Page 5 - รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการคุ้มครองการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ดิน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงาน กสม. ระหว่างวันที่ 19-23 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 5
๓
ระยะเวลาและสถานที่
ระหว่างวันพุธที่ 19 – วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา
วิทยากรและผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
วิทยากรและผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๑. นางสาวศยามล ไกยูรวงศ์ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒. ผศ.สุชาติ เศรษฐมาลินี กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
3. นางรัตติกุล จันทร์สุริยา ที่ปรึกษาประจ าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
4. นางสาวมณีรัตน์ มิตรปราสาท ที่ปรึกษาประจ าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
5. นายไพโรจน์ พลเพชร ที่ปรึกษาประจ าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๖. ดร.ชาญวิทย์ ชัยกันย์ ตุลาการศาลปกครองกลาง
๗. รศ.ดร.กิตติศักดิ์ ปรกติ อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (เพิ่มเติม)
๑. นางปรีดา คงแป้น กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๒. นางสาวปิติกาญจน์ สิทธิเดช กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๓. นางสาวสุภัทรา นาคะผิว กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๔. นายบุญแทน ตันสุเทพวีรวงศ์ ที่ปรึกษาประจ าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๕. นายภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์ ผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
วิธีการฝึกอบรม
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร การคุ้มครองการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ดิน ทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อมส าหรับเจ้าหน้าที่ส านักงาน กสม. ด าเนินการฝึกอบรมตามความเหมาะสมของเนื้อหารายหัวข้อ
วิชา อาทิ การบรรยาย การแบ่งกลุ่มอภิปราย/สัมมนา การฝึกปฏิบัติ กิจกรรมกลุ่ม โดยเป็นการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วม ในรูปแบบการศึกษา วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง และอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างวิทยากรและผู้เข้ารับการฝึกอบรม
สรุปสาระส าคัญเนื้อหาการฝึกอบรม
Module 1 ภาพรวมกฎหมายสิทธิมนุษยชน ข้อตกลงระหว่างประเทศ กฎหมายรัฐธรรมนูญ นโยบาย
แผน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลา : จ านวน 2 ชั่วโมง 30 นาที
วิทยากร : นางสาวศยามล ไกยูรวงศ์ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
นางรัตติกุล จันทร์สุริยา ที่ปรึกษาประจ าคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ขอบเขตเนื้อหา :
ศึกษากลไกการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในระดับกฎหมายภายในประเทศ กฎหมายระหว่าง
ประเทศ กติการะหว่างประเทศ หลักธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน และแผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับ
สิทธิมนุษยชน (NAP) เพื่อใช้เป็นกรอบในการอธิบายสถานการณ์การละเมิดสิทธิมนุษยชนในบริบทต่าง ๆ
รวมไปถึงแนวทางการป้องกัน แก้ไข และเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบในระดับนโยบาย