Page 22 - รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการคุ้มครองการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ดิน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงาน กสม. ระหว่างวันที่ 19-23 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 22

๒๐


                               ๕.3 การเจรจาต่อรองทั้งสองฝ่ายหรือมากกว่า มีการเจรจาเชิงโครงสร้างเกี่ยวกับข้อขัดแย้ง
                  เพื่อระบุทางเลือกที่เป็นไปได้ส าหรับการแก้ไขร่วมกัน
                               ๕.4 การไกล่เกลี่ย

                                    - เหมือนกับการเจรจา แต่มีบุคคลที่สามโดยเฉพาะที่ท าหน้าที่เป็นคนกลางเพื่อช่วยให้
                  ฝ่ายต่าง ๆ ชี้แจงปัญหาและระบุวิธีแก้ปัญหาที่เป็นไปได้
                                    - ผู้ไกล่เกลี่ยจะเขียนสัญญาซึ่งระบุการด าเนินการที่จ าเป็นและกรอบเวลาที่ตกลงกันไว้
                  ส าหรับคู่สัญญาที่ขัดแย้งกัน

                                    - สัญญาอาจอยู่ในรูปแบบ เช่น ข้อตกลงการใช้ทรัพยากรหรือกฎของคณะกรรมการ

                  Module 7  การวินิจฉัยกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนและการจัดท าข้อเสนอแนะมาตรการ


                  หัวข้อวิชา :  แนวค าวินิจฉัยของศาลปกครองกับสิทธิในที่ดินและสิทธิชุมชนกับสิ่งแวดล้อม
                             การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การวินิจฉัยและการจัดท าข้อเสนอแนะมาตรการ (กรณีที่เคย
                  ด าเนินการ, กรณีใหม่) รวมถึงการพัฒนากรอบมุมมอง หลักเกณฑ์ และข้อควรระวัง

                  ระยะเวลา :  จ านวน 3 ชั่วโมง

                  วิทยากร :  ดร.ชาญวิทย์ ชัยกันย์     ตุลาการศาลปกครองกลาง

                  ขอบเขตเนื้อหา :
                             ศึกษาตัวอย่างการวินิจฉัยกรณีละเมิดสิทธิมนุษยชนที่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน
                  ที่เกิดจากโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ หรือการลุกล้ าพื้นที่สาธารณะของคนในชุมชนเอง เพื่อให้เข้าใจเหตุผล

                  และสิทธิในการเรียกร้องในข้อพิพาทของผู้ฟ้องคดี และออกค าวินิจฉัยของศาลไปตามข้อกฎหมายและ
                  ข้อเท็จจริง การแบ่งกลุ่มวิเคราะห์การใช้สิทธิตามกระบวนยุติธรรมในการเรียกร้องกรณีเกิดข้อพิพาทด้าน
                  สิทธิที่ดิน และสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเสนอแนะมาตรการป้องกันการละเมิดสิทธิ

                  มนุษยชนในอนาคต
                  สาระส าคัญ :

                             ๑. แนวค าวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุดเกี่ยวกับสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม
                               1.๑ กรณีข้อพิพาทโรงฟ้าชีวมวล ผู้ฟ้องคดีมีภูมิล าเนา มีที่ดิน ประกอบอาชีพหรืออยู่
                  อาศัยในพื้นที่พิพาทและเป็นสมาชิกกลุ่มสีคิ้วคัดค้านไม่เอาโรงไฟฟ้าชีวมวล มีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์

                  สิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านและตรวจสอบการด าเนินการโรงไฟฟ้าชีวมวล จึงมีสิทธิมีส่วนร่วมในการคุ้มครอง
                  ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน รวมทั้งมี
                  สิทธิได้รับข้อมูล ค าชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ และสิทธิในการแสดงความคิดเห็นประกอบก่อน
                  การอนุญาตหรือการด าเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจมีผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย

                  คุณภาพชีวิตของบุคคลหรือชุมชนท้องถิ่น เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปใช้ประกอบการพิจารณาในเรื่อง
                  ดังกล่าว
                               ๑.2 กรณีผู้ฟ้องคดีดัดแปลงขน าเป็นโฮมสเตย์ โดยเกิดจากเดิมผู้ฟ้องคดีใช้ขน าส าหรับ
                  ประกอบอาชีพท าประมง ต่อมาไม่ได้ใช้ท าประโยชน์เพื่อการประมงแล้ว แต่ใช้เป็นธุรกิจโฮมสเตย์เพื่อ

                  ให้บริการแก่นักท่องเที่ยว ท าให้วัตถุประสงค์และความส าคัญของการใช้ประโยชน์จากสิ่งปลูกสร้างของผู้
                  ฟ้องคดีเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งแม้ว่ากรมเจ้าท่าอาจอนุญาตให้ปลูกสร้างอาคารหรือสิ่งอื่นใดล่วงล้ าล าน้ าก็ตาม
                  แต่เมื่อสิ่งปลูกสร้างของผู้ฟ้องคดีไม่ได้ใช้ประโยชน์เพื่อการอยู่อาศัยหรือเพื่อใช้ส าหรับประกอบอาชีพท า
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27