Page 18 - รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการฝึกอบรมหลักสูตรการคุ้มครองการละเมิดสิทธิชุมชน สิทธิในที่ดิน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม สำหรับเจ้าหน้าที่สำนักงาน กสม. ระหว่างวันที่ 19-23 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 18
๑๖
- ข้อมูลการรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้อง
- รายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment : EIA)
- รายงานประมวลหลักการปฏิบัติ (Code of Practice: CoP)
- แผนที่แสดงภูมิประเทศ/ต าแหน่งที่ตั้ง
- รายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ
- รายงานการลงพื้นที่แสวงหาข้อเท็จจริง
การเชื่อมโยงผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Mapping)
กลุ่ม บทบาท ข้อมูลที่ต้องการ
1. ประชาชนในพื้นที่ 1. ผู้ได้รับผลประโยชน์ 1. ได้รับประโยชน์อย่างไร
2. ผู้เสียประโยชน์ 2. เสียประโยชน์อย่างไร
2. การไฟฟ้าฝ่ายผลิต ผู้ประกอบกิจการ 1. เหตุผลความจ าเป็นในการจัดท าโครงการ
แห่งประเทศไทย 2. แนวทางการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากโครงการ
3. องค์กรปกครองส่วน รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 1. สภาพปัญหารอบโครงการ
ท้องถิ่น ในท้องที่ 2. ข้อมูลน้ าท่วมย้อนหลัง
3. แนวทางการแก้ไขปัญหา
4. กระทรวงพลังงาน ออกนโยบายพลังงาน 1. กระบวนการอนุญาตให้จัดท าโครงการ
2. การแก้ไขเรื่องร้องเรียนเชิงโครงสร้าง
5. นักวิชาการ ศึกษาวิจัยพลังงานสะอาด 1. ให้ข้อมูลการผลิตพลังงาน
2. ให้ข้อคิดเห็นต่อวิธีการแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดจาก
โครงการ
กลุ่มที่ 6 กรณีศึกษาโครงการเหมืองหินอุตสาหกรรม
1) อ่านกรณีศึกษาแล้วรู้สึกอย่างไร
- ความไม่ชอบธรรมของการรับฟังความคิดเห็น
- ความไม่เป็นธรรมในการใช้ประโยชน์ในที่ดิน
2) ผลกระทบที่เกิดกับชุมชน
- มลพิษทางเสียง ฝุ่น และแหล่งน้ า
- ผลกระทบด้านการใช้ประโยชน์ในพื้นที่
- ขาดข้อมูลความน่าเชื่อถือของบริษัท
- เหตุผลประกอบการอนุญาตจากหน่วยงานที่มีอ านาจพิจารณาอนุญาต
3) กฎหมาย /ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
- หลักการชี้แนะแห่งสหประชาชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (United Nations
Guiding Principles on Business and Human Rights: UNGPs)
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
(International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights: ICESCR)
- รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 43, 57, 58
- พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560
- พระราชบัญญัติสาธารณสุข พ.ศ. 2484 และที่แก้ไขเพิ่มเติม