Page 58 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 58
สงสัยว่าได้กระท�าการให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับผู้ติดเชื้อเอชไอวีและ
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการใช้อ�านาจตาม ผู้ป่วยเอดส์ นอกจากนี้ให้หน่วยงานของรัฐ และ
ระเบียบกองอ�านวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 รัฐวิสาหกิจปฏิบัติตามประกาศคณะกรรมการแห่งชาติ
ส่วนหน้า ว่าด้วยวิธีการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ ว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ ลงวันที่
ตามมาตรา 11 แห่งพระราชก�าหนดบริหารราชการ 21 สิงหาคม 2552 เรื่อง แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วย
ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ส�าหรับการก�าหนด การป้องกันและบริหารจัดการด้านเอดส์ในสถานที่ท�างาน
แนวทางหรือมาตรการส�าหรับให้เจ้าหน้าที่ใช้อุปกรณ์ และให้ภาครัฐเป็นแบบอย่างการไม่เลือกปฏิบัติต่อ
บันทึกภาพและเสียงในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ตามค�าสั่ง ผู้ติดเชื้อเอชไอวี รวมทั้งให้มีการบังคับใช้กฎหมายเพื่อ
ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ที่ 178/2564 ลงวันที่ คุ้มครองสิทธิของผู้ติดเชื้อเอชไอวี ได้แก่ การใช้กลไก
9 เมษายน 2564 ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติไม่อาจ ตามพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และ
ด�าเนินการได้ เนื่องจากค�าสั่งดังกล่าวได้ก�าหนดแนวทาง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542)
ปฏิบัติไว้ชัดเจนแล้ว แต่เป็นปัญหาในทางปฏิบัติ เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
การบริการอื่นของสถานพยาบาล และสิทธิของผู้ป่วย
ซึ่งผู้รับอนุญาตจะต้องแสดงข้อมูลตามที่ก�าหนด
ในประกาศตามมาตรา 32 (3) ในสถานบริการทางการแพทย์
ที่มีบริการตรวจหาเชื้อเอชไอวีและไม่เปิดเผยผล
การตรวจต่อบุคคลอื่นไม่ว่าจะโดยสมัครใจหรือไม่ รวมถึง
การด�าเนินการให้มีมาตรการเชิงลงโทษต่อสถานพยาบาล
ที่ฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าวอย่างเคร่งครัด (2) กรณี
ภาคเอกชนเลือกฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวีในการสมัครงาน
ให้บริษัทเอกชนยกเลิกเงื่อนไขการตรวจหาเชื้อเอชไอวี
ก่อนรับเข้าท�างานในทุกต�าแหน่ง รวมถึงด�าเนินการตาม
แนวปฏิบัติแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและบริหาร
4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติโดย จัดการด้านเอดส์ในสถานที่ท�างาน และประกาศ
ไม่เป็นธรรมต่อบุคคล กสม. มีข้อเสนอแนะเพื่อให้ กระทรวงแรงงาน เรื่อง แนวทางการป้องกันและบริหาร
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องด�าเนินการ (1) กรณีหน่วยงานของรัฐ จัดการด้านเอดส์และวัณโรคในสถานประกอบกิจการ
บังคับให้ตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีผู้สมัครสอบ และ (3) กรณีเจ้าหน้าที่ต�ารวจตรวจค้นบุคคลผู้มี
เพื่อบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ความหลากหลายทางเพศ ให้สถานีต�ารวจภูธรเวียงคุก
ให้ส�านักงานต�ารวจแห่งชาติทบทวนบัญชีแนบท้าย ก�าชับให้เจ้าหน้าที่ต�ารวจปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจค้น
กฎ ก.ตร. ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศด้วยความสุภาพและ
การเป็นข้าราชการต�ารวจ พ.ศ. 2547 และกฎ ก.ตร. หลีกเลี่ยงการสัมผัสเนื้อตัวร่างกายโดยไม่จ�าเป็น และ
ว่าด้วยคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของการเป็น มีทัศนคติที่เคารพต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และ
ข้าราชการต�ารวจ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549 ก�าหนดให้ ค�านึงถึงอัตลักษณ์ทางเพศ เพศสภาพ หรือเพศภาวะของ
โรคเอดส์เป็นโรคต้องห้ามในการเข้าเป็นข้าราชการ บุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศที่ถูกตรวจค้นตัว
ต�ารวจ โดยควรก�าหนดค�านิยามให้ชัดเจนว่า “โรคเอดส์”
ตามบัญชีแนบท้ายกฎ ก.ตร. ฉบับดังกล่าว มีความหมาย ผลด�าเนินการ/ผลสัมฤทธิ์: หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้
อย่างไร ภายใต้หลักเรื่องการไม่เลือกปฏิบัติต่อผู้ติดเชื้อ ด�าเนินการตามข้อเสนอแนะของ กสม. เช่น บริษัทเอกชน
เอชไอวี และให้คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วย ผู้ถูกร้องได้ยกเลิกการตรวจหาเชื้อเอชไอวีก่อนรับพนักงาน
การป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ (คช.ปอ.) จัดตั้ง เข้าท�างานทุกต�าแหน่ง กระทรวงสาธารณสุขได้ก�าชับ
56