Page 54 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 54
ทั้งนี้ ผลการด�าเนินการตามมาตรการหรือแนวทาง ตราข้อบัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับหลักเกณฑ์การออกแบบ
ของ กสม. ในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน และก่อสร้างสถานที่คัดแยกแปรสภาพ และก�าจัด
หรือในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มีสาระ สิ่งปฏิกูลและมูลฝอยให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล
ส�าคัญและกรณีตัวอย่าง ดังนี้ ก�าหนดให้ผู้ประกอบการมีแผนป้องกันแก้ไขปัญหา
และเยียวยาผลกระทบ และให้บูรณาการความร่วมมือ
1) กรณีสิทธิชุมชน กสม. มีข้อเสนอแนะต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการตรวจสอบและติดตาม
หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง เช่น (1) กรณีการก�าจัด การด�าเนินกิจการเกี่ยวกับการก�าจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย
กากอุตสาหกรรม จังหวัดฉะเชิงเทรา ให้กระทรวง ให้มีการจัดหลักสูตรอบรมการบังคับใช้กฎหมายให้แก่
อุตสาหกรรมดูแลเร่งรัดการก�าจัดกากอุตสาหกรรมให้ เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง รวมทั้ง
ถูกต้องตามหลักวิชาการโดยเร็ว เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบ เร่งจัดท�ากฎหมายเฉพาะเรื่องการบริหารจัดการขยะ
ต่อประชาชนที่อยู่ใกล้เคียง (2) กรณีโครงการก่อสร้าง และ (6) กรณีการประกอบกิจการรับซื้อน�้ายางและ
อ่างเก็บน�้าล�าพะยา จังหวัดยะลา และโครงการอ่างเก็บน�้า ผลิตยางแผ่น จังหวัดนครศรีธรรมราช ให้องค์การ
รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
แม่ค�า จังหวัดเชียงราย ให้กรมชลประทานเร่งรัด บริหารส่วนต�าบลบ้านนิคมก�าหนดเงื่อนไขเพิ่มเติมท้าย
การทบทวนความเหมาะสมและความจ�าเป็นในการก่อสร้าง ใบอนุญาตประกอบการเกี่ยวกับการรับซื้อน�้ายางและ
อ่างเก็บน�้า โดยศึกษาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและ ผลิตยางแผ่น และก�าหนดแผนตรวจสอบและติดตาม
ทางเลือกอื่นในการบริหารจัดการน�้าให้เกิดประโยชน์ อย่างเคร่งครัดโดยให้ประชาชน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สูงสุด มีความเหมาะสมกับสภาพภูมิศาสตร์และสังคม ผู้ประกอบการ เครือข่ายภาคประชาสังคมทุกภาคส่วน
รวมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนที่ได้รับผลกระทบมีส่วนร่วม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมด้วย
ในการแสดงความคิดเห็นตามขั้นตอนของกฎหมาย และ
ควรเวนคืนอสังหาริมทรัพย์เท่าที่จ�าเป็น (3) กรณีโครงการ ผลด�าเนินการ/ผลสัมฤทธิ์: หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ประตูระบายน�้าศรีสองรัก จังหวัดเลย ให้ส�านักงาน ได้ด�าเนินการตามข้อเสนอแนะของ กสม. ดังนี้ (1) กรณี
ก่อสร้างชลประทานขนาดใหญ่ที่ 12 ก�าชับหน่วยงาน โครงการก่อสร้างอ่างเก็บน�้า กรมชลประทานได้เร่งรัด
ในพื้นที่ให้ชี้แจงท�าความเข้าใจกับประชาชนอย่างต่อเนื่อง ให้มีการทบทวนความเหมาะสมและความจ�าเป็น
แก้ไขปัญหาและเยียวยาข้อร้องเรียนให้ประชาชนโดย ในการก่อสร้างอ่างเก็บน�้า โดยตรวจสอบสภาพ
ไม่ชักช้า (4) กรณีโครงการเหมืองแร่ถ่านหิน อ�าเภออมก๋อย ภูมิประเทศและเก็บข้อมูลเพื่อทบทวนและรวบรวม
จังหวัดเชียงใหม่ ให้ส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากร ข้อมูลผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการอ่างเก็บน�้า
ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) น�ารายงานการประเมิน และให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบเข้าไปมีส่วนร่วม
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการท�าเหมืองแร่เสนอต่อ ในการแสดงความคิดเห็นครบถ้วนแล้ว (2) กรณีโครงการ
คณะกรรมการผู้ช�านาญการทบทวนรายละเอียด ประตูระบายน�้าศรีสองรัก จังหวัดเลยได้แต่งตั้ง
การมีส่วนร่วมของประชาชน และก�าหนดให้ผู้ประกอบการ คณะท�างานบริหารจัดการน�้าแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่
มีแผนเยียวยาความเดือดร้อนเสียหายอย่างเป็นธรรม โครงการ และเสริมสร้างการมีส่วนร่วมการบริหาร
และได้สัดส่วนกับความเดือดร้อนหรือหรือความเสียหาย จัดการน�้าของทุกภาคส่วน (3) กรณีโครงการเหมืองแร่
และให้ส�านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงใหม่ ประสาน ถ่านหิน สผ. เสนอคณะกรรมการผู้ช�านาญการประเด็น
ความร่วมมือไปยังอ�าเภออมก๋อย และองค์การบริหาร การก�าหนดให้ผู้ประกอบการปฏิบัติตามมาตรการ
ส่วนต�าบลอมก๋อย เพื่อหารือถึงแนวทางในการจัดประชุม ป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด
รับฟังความคิดเห็นของชุมชนตามพระราชบัญญัติแร่ แล้ว และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดประชุมรับฟัง
พ.ศ. 2560 (5) กรณีโครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะ ความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ที่ขอประทานบัตรแล้ว
จังหวัดสมุทรสาคร ให้กระทรวงมหาดไทยก�ากับ (4) กรณีโครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะ กระทรวงมหาดไทย
ส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ก�ากับดูแลส่งเสริมและสนับสนุนให้องค์กรปกครอง
52