Page 52 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 52

3.1.5  การติดตามผลการดำาเนินการตาม               การประกอบกิจการรับซื้อน�้ายางและผลิตยางแผ่น
             มาตรการหรือแนวทางของ กสม. ในการป้องกัน           ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน รองลงมาเป็น

             หรือแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือในการ         สิทธิของบุคคลในทรัพย์สิน 30 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ
             ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน                  20.55 เช่น กรณีการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติ
                กสม. ได้แต่งตั้งคณะท�างานติดตามการด�าเนินการ  เขาปู่ - เขาย่าทับที่ดินของราษฎร กรณีการก�าหนดอัตรา
             ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตามมาตรการหรือข้อเสนอแนะ  ค่าทดแทนจากการเวนคืนที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป็นต้น
             ของ กสม. ขึ้น โดยเป็นกลไกตามระเบียบคณะกรรมการ  และสิทธิในกระบวนการยุติธรรม 23 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ

             สิทธิมนุษยชนแห่งชาติว่าด้วยการติดตามผลการด�าเนินการ  15.75 เช่น กรณีคนสัญชาติเมียนมาถูกเจ้าหน้าที่ต�ารวจ
             ด้านสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม   รถไฟท�าร้ายร่างกายและเรียกรับเงิน และกรณีพนักงาน
             ซึ่งมีหน้าที่และอ�านาจในการพิจารณาผลการด�าเนินการ  สอบสวนด�าเนินคดีล่าช้า เป็นต้น (ตารางที่ 11) ทั้งนี้
             ที่มีเหตุให้ยุติการติดตาม จากกรณีที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  กสม. ได้พิจารณารับทราบผลด�าเนินการของหน่วยงาน

             ได้ด�าเนินการทั้งหมดหรือบางส่วนที่เป็นสาระส�าคัญแล้ว   ของรัฐหรือเอกชน  และมีมติให้ยุติการติดตามผล
       รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
             หรือไม่อาจด�าเนินการได้โดยมีเหตุผลอันสมควร หรือ  การด�าเนินการตามระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
             เป็นกรณีที่ได้มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่ในศาล รวมทั้งกรณี  แห่งชาติว่าด้วยการติดตามผลการด�าเนินการด้าน
             ที่การด�าเนินการจะไม่เป็นประโยชน์อีกต่อไป นอกจากนี้   สิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2564 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 22

             คณะท�างานดังกล่าวยังเป็นกลไกในการพิจารณา  เนื่องจาก 1) หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนได้ด�าเนินการ
             ในกรณีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องไม่ด�าเนินการโดยไม่มีเหตุผล  ตามมาตรการหรือแนวทางหรือข้อเสนอแนะของ กสม.
             อันสมควร  เพื่อเสนอ  กสม.  ให้จัดท�ารายงานต่อ  ทั้งหมดหรือบางส่วนที่เป็นสาระส�าคัญ  รวมทั้งสิ้น
             คณะรัฐมนตรีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ      102 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ 69.86 (ตารางที่ 12) 2) กรณี

             ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560  ที่ไม่อาจด�าเนินการตามมาตรการหรือแนวทางหรือ
             มาตรา 36 วรรคสี่ หรือเสนอให้เผยแพร่รายงานหรือ  ข้อเสนอแนะ กสม. ได้โดยมีเหตุผลอันสมควร 12 ค�าร้อง
             ผลการด�าเนินการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ประชาชน  คิดเป็นร้อยละ 8.22 เช่น กรณีโครงการเหมืองแร่ถ่านหิน
             ทราบเป็นการทั่วไปตามมาตรา 43 วรรคสอง ทั้งนี้   อ�าเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีข้อเสนอแนะ

             ในกระบวนการพิจารณาข้างต้น คณะท�างานยังมีหน้าที่  ให้หน่วยงานรัฐจัดประชุมหารือกับภาคเอกชน
             และอ�านาจในการประสานกับหน่วยงานของรัฐ หน่วยงาน  เพื่อก�าหนดประเด็นหรือแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
             เอกชน  หรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง  เพื่อประโยชน์ใน  แต่ภาคประชาชนปฏิเสธเข้าร่วมประชุมหารือ ข้อเสนอแนะ
             การติดตามผลการด�าเนินการตามความจ�าเป็นและ        จึงไม่อาจบรรลุผลได้หากปราศจากความร่วมมือจาก

             เหมาะสมแก่กรณีด้วย                               ภาคประชาชน เป็นต้น 3) กรณีที่มีการฟ้องร้องเป็นคดีอยู่
                                                              ในศาลหรือเรื่องที่ศาลมีค�าพิพากษา ค�าสั่ง หรือค�าวินิจฉัย
                ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้มีการติดตามผล  เสร็จเด็ดขาดแล้ว 13 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ 8.90 และ
             การด�าเนินการตามรายงานผลการตรวจสอบการละเมิด      4) ค�าร้องอื่นที่เสนอ กสม. พิจารณาเป็นรายกรณี 19 ค�าร้อง

             สิทธิมนุษยชน รวมทั้งสิ้น 146 ค�าร้อง แบ่งเป็นประเภท  คิดเป็นร้อยละ 13.01 เช่น กรณีการก่อสร้างประตูระบายน�้า
             สิทธิชุมชน 38 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ 26.03 เช่น กรณี  ศรีสองรักส่งผลกระทบต่อการท�าเกษตรกรรม วิถีชีวิต
             โครงการก่อสร้างท่าเทียบเรือที่อ่าวเตล็ด อ�าเภอขนอม  และวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น และกรณีการก่อสร้าง
             จังหวัดนครศรีธรรมราช กรณีการอนุญาตให้ฝังกลบ      โรงงานตากและรีดกากแป้งมันส�าปะหลังที่อาจส่งผล

             ขยะมูลฝอยในพื้นที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน และกรณี     กระทบต่อสิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต








       50
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57