Page 47 - รายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
P. 47
3.1.3 การประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนกับ ในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน ภาคประชาสังคม และเป็นเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอ�านาจของหน่วยงาน
หรือบุคคลในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ที่เกี่ยวข้องโดยตรงเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างรวดเร็ว
นอกจากกรณีเรื่องร้องเรียนที่รับไว้ตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชนแล้ว กสม. ได้ให้ความส�าคัญกับ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กสม. ได้รับเรื่อง
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนอย่างมีประสิทธิภาพ ร้องเรียนไว้ประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 164
โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ จึงได้ปรับแนวทางการด�าเนินงาน ค�าร้อง สามารถด�าเนินการให้ความช่วยเหลือเสร็จสิ้น
ด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน โดยมุ่งเน้นการประสาน 142 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ 86.58 ส่วนใหญ่เป็นเรื่อง
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนเพื่อน�าไปสู่การแก้ไข เกี่ยวกับการขอให้เร่งรัดการด�าเนินคดีของพนักงาน
ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างรวดเร็วและ สอบสวน เรื่องเกี่ยวกับสิทธิและสถานะบุคคล เช่น
ทันต่อสถานการณ์ อีกทั้งสามารถเยียวยาความเสียหาย การขอสัญชาติ การขอให้เร่งรัดกระบวนการขอคืน
ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยใช้วิธีการประสานงานกับ รายการบุคคลและสถานะทางทะเบียน เป็นต้น เรื่อง
หน่วยงานของรัฐ องค์กรเอกชน องค์กรหรือบุคคลอื่นใด เกี่ยวกับปัญหาสาธารณูปโภค และเรื่องเกี่ยวกับ
ในด้านสิทธิมนุษยชน ในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน มาตรฐานการด�ารงชีพ เป็นต้น
เพื่อแสวงหาความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ผลการด�าเนินงาน
QR code: กรณีตัวอย่างรายงานการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนกับหน่วยงาน
ภาครัฐ องค์กรเอกชน ภาคประชาสังคม หรือบุคคลในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ในภาพรวม
ตัวอย่างข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นถึง ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ�านวน 128 ค�าร้อง
ความส�าเร็จจากการประสานการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน แบ่งเป็นเรื่องที่มีการกระท�าหรือการละเลยการกระท�า
จนเกิดผลสัมฤทธิ์ สามารถแก้ไขปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชน และ กสม. มีข้อเสนอแนะ บทที่
3
และทันท่วงที ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ มาตรการหรือแนวทางในการป้องกันหรือแก้ไขการละเมิด
การด�าเนินงานของ กสม. พ.ศ. 2560 - 2565 ยุทธศาสตร์ สิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ที่ 1 ส่งเสริมและติดตามให้ทุกภาคส่วนของสังคม พุทธศักราช 2560 มาตรา 247 (1) จ�านวน 88 ค�าร้อง
เกิดการเคารพสิทธิมนุษยชนตามที่ได้รับการรับรอง คิดเป็นร้อยละ 52.07 เรื่องที่ไม่พบการกระท�าหรือ
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายไทย การละเลยการกระท�าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนแต่
และพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน กสม. มีข้อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส่งเสริม
ที่ประเทศไทยจะต้องปฏิบัติตาม และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนต่อรัฐสภา คณะรัฐมนตรี
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมตลอดทั้งการแก้ไข
3.1.4 การตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบหรือค�าสั่งใด ๆ เพื่อให้
กสม. ได้ด�าเนินการตรวจสอบค�าร้องที่ได้รับ สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมกับค�าร้องสะสม แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 247
ที่ได้รับก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และจัดท�ารายงาน (3) จ�านวน 57 ค�าร้อง คิดเป็นร้อยละ 33.73 และเรื่อง
ผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนแล้วเสร็จ ที่ไม่เป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือปรากฏในภายหลัง
รวมทั้งสิ้น 169 ค�าร้อง เป็นค�าร้องในปีงบประมาณ ว่าเป็นเรื่องที่มีลักษณะต้องห้ามมิให้ กสม. รับไว้พิจารณา
พ.ศ. 2565 จ�านวน 41 ค�าร้อง และเป็นค�าร้อง ได้แก่ เรื่องที่ตรวจสอบแล้วไม่มีประเด็นการละเมิด
45