Page 99 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 99

รวมทั้งจำานวนผู้กระทำาผิดที่มีรายงานการสอบสวนว่ามีผู้กระทำาผิดร่วมกัน ๒ ราย

          แต่เมื่อจับกุมผู้กระทำาผิด ๑ ราย ก็ไม่ได้มีการดำาเนินคดีกับผู้กระทำาผิดอีกราย  ซึ่งใน
          กรณีดังกล่าวส่งผลให้ผู้เกี่ยวข้องไม่มีความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม






              ๒.  ข้อเสนอแนวทางในการยกเลิกโทษประหารชีวิต


               บทลงโทษประหารชีวิต เป็นบทลงโทษที่กำาหนดในการกระทำาผิดทางอาญา
          โดยในประเทศไทยได้มีการกำาหนดโทษประหารชีวิตใน ๖๒ ฐานความผิด ซึ่งแม้ว่า

          การลงโทษประหารชีวิตซึ่งเป็นบทลงโทษสูงที่สุดที่จะสามารถตอบแทนต่อการกระทำาผิด
          ได้อย่างสาสม อันจะสามารถชดเชยความรู้สึกให้แก่ผู้เสียหายได้                                ๒.๑.๒  หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่
               อย่างไรก็ตาม การประหารชีวิตนั้นเป็นการลงโทษที่ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชน            สังคมเกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ผลกระทบ และความจำาเป็นในการปรับปรุงโทษ

          ในการมีชีวิตอยู่  ลดทอนศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ อีกทั้งยังไม่มีข้อค้นพบใดยืนยัน   ประหารชีวิต และการยกเลิกโทษประหารชีวิตอย่างต่อเนื่อง
          ได้อย่างชัดเจนว่าการใช้โทษประหารชีวิตจะมีส่วนในการยับยั้งหรือป้องกันอาชญากรรม
          รวมถึงกระบวนการยุติธรรมที่ยังมีความเสี่ยงที่จะเกิดความผิดพลาดได้ ทั้งการจับ               ๒.๑.๓  รัฐพิจารณาเข้าเป็นภาคีพิธีสารเลือกรับฉบับที่ ๒  ของ  ICCPR

          ผิดคน การตัดสินผิดพลาด หรือข้อจำากัดของผู้กระทำาผิดที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถ          โดยต้องมีการเตรียมความพร้อมในทุกส่วนก่อนเข้าเป็นภาคี เนื่องจากเมื่อเข้าเป็น
          จ้างทนายความแก้ต่างในคดี หรือความไม่รู้ในการต่อสู้คดี ซึ่งหากมีการตัดสินลงโทษ        ภาคีแล้วต้องยกเลิกโทษประหารชีวิตทั้งหมดทันที

          ประหารชีวิตและบังคับโทษไปแล้ว อาจมีการประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์ได้ และเพื่อป้องกัน          ๒.๑.๔ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรกำาหนดสถานที่ในการควบคุมตัวนักโทษ
          ไม่ให้เกิดความผิดพลาดดังกล่าวขึ้น จึงจำาเป็นต้องมีการยกเลิกโทษประหารชีวิตใน          ประหารชีวิต โดยสามารถกระจายไปตามภูมิภาค และกำาหนดมาตรการในการดูแล
          ประเทศไทย โดยมีข้อเสนอแนวทางในการยกเลิกโทษประหารชีวิต ดังนี้                         ในสถานที่ควบคุมนั้นๆ ให้ชัดเจนเหมาะสม โดยอาจกำาหนดตามข้อเสนอในการ

                                                                                               ดำาเนินการควบคู่กับการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตของกระทรวงยุติธรรมที่อาจ
               ๒.๑  ข้อเสนอด้านนโยบาย                                                          พิจารณากำาหนดให้เรือนจำาความมั่นคงสูง ๕ แห่ง  เป็นเรือนจำาสำาหรับนักโทษ

               ๒.๑.๑ รัฐให้ความสำาคัญต่อการดำาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรี  วันที่                 จำาคุกตลอดชีวิตซึ่งถูกเปลี่ยนจากโทษประหารชีวิต
          ๒๖ กรกฎาคม  ๒๕๕๙ ในการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับโทษประหารชีวิตและ                            ๒.๑๕  รัฐต้องสร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม ว่าการนำาตัว
          หลักสิทธิมนุษยชน และพักใช้การลงโทษประหารชีวิตเพื่อเตรียมความพร้อมในการ               ผู้กระทำาผิดมาลงโทษนั้น เป็นผู้กระทำาผิดจริง และได้รับโทษตามสัดส่วนของการ

          ยกเลิกโทษประหารชีวิต                                                                 กระทำาผิดนั้นๆ รวมทั้งได้รับความคุ้มครองสิทธิตามมาตรฐานสากล



          96                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     97
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104