Page 95 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 95
๑.๓ ความคิดและความรู้สึกของครอบครัว ๑.๕ การปรับตัวในการใช้ชีวิตในเรือนจำา
และคนใกล้ชิดของนักโทษประหารชีวิต เมื่อได้รับโทษประหารชีวิตแล้ว นักโทษประหารต้องถูกคุมขังในเรือนจำา
การตัดสินลงโทษประหารชีวิต นอกจากจะส่งผลกระทบกับตัวนักโทษแล้ว ระหว่างรอการบังคับโทษ ซึ่งภายในเรือนจำาจะกำาหนดแดนให้นักโทษประหาร
ยังพบว่า ผลกระทบยังส่งต่อไปยังครอบครัวและคนใกล้ชิดนักโทษประหารชีวิตด้วย แยกจากนักโทษอื่นๆ เป็นการเฉพาะ การจัดการตนเองของนักโทษประหารชีวิต
จากการศึกษาพบว่า เมื่อครอบครัวและคนใกล้ชิดได้รับทราบว่านักโทษได้รับคำาพิพากษา ภายในเรือนจำาพบว่า
ตัดสินให้ประหารชีวิตนั้น ก็ก่อให้เกิดความรู้สึกไม่แตกต่างจากนักโทษประหารชีวิต การใช้ชีวิตในเรือนจำาในช่วงแรกนั้น ก่อให้เกิดความรู้สึกยากลำาบากทั้งด้าน
ทั้งหดหู่ ตกใจ เสียใจ พูดไม่ออก อีกทั้งยังต้องรับภาระความรับผิดชอบ และค่าใช้จ่าย ร่างกายและจิตใจ ตลอดจนการแสดงออกตามความรู้สึกของตนเอง นอกจากนี้
ต่างๆ แทนนักโทษประหารชีวิตด้วย บางรายครอบครัวและคนใกล้ชิดต้องปรับเปลี่ยน บางรายพบว่า มีอาการป่วยที่ต้องทำาการรักษาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องปรับตัว
วิถีชีวิต อย่างไรก็ตาม ครอบครัวและคนใกล้ชิดแม้ว่าจะได้รับผลกระทบไม่ต่างกัน ปรับการใช้ชีวิตความเป็นอยู่ และใช้บริการทางการแพทย์ให้สอดคล้องตามกฎ
แต่ก็ได้มีการให้กำาลังใจและปลอบใจกันเพื่อการดำาเนินชีวิตต่อไปข้างหน้า ซึ่งส่วนหนึ่ง และระเบียบของกรมราชทัณฑ์ ส่วนในกรณีของนักโทษคดีอุกฉกรรจ์ ที่ได้รับ
ก็จะมองว่า การได้รับโทษดังกล่าวคงเป็นเวรกรรมที่ทำามาแต่ชาติปางก่อน ความสนใจจากสังคม ทำาให้ผู้คุมต้องแจ้งผู้ต้องขังรายอื่นๆ ไม่ให้มีการทำาร้ายนักโทษ
รายดังกล่าว
๑.๔ ความคิดที่มีต่อการประหารชีวิต
๑.๖ การทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวขอพระราชทานอภัยโทษ
ด้วยในช่วงระยะเวลากว่า ๙ ปีก่อนเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ ไม่พบการ
บังคับโทษประหารชีวิต จึงทำาให้นักโทษประหารหลายรายคิดว่าแม้ตนเองจะ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา บัญญัติให้เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว
ได้รับคำาพิพากษาตัดสินให้ลงโทษประหารชีวิต แต่อาจจะไม่โดนประหารชีวิตจริง นักโทษหรือผู้มีประโยชน์เกี่ยวข้องสามารถทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวต่อพระมหากษัตริย์
เนื่องจากได้รับการบอกเล่ากันภายในเรือนจำาว่า ไม่มีการประหารชีวิตมานานแล้ว ขอรับพระราชทานอภัยโทษ โดยยื่นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมได้ ภายใน
ขณะที่บางรายเชื่อว่า ตราบใดที่ยังมีการกำาหนดบทลงโทษและพิพากษาตัดสินให้ ๖๐ วัน ซึ่งหากไม่มีการถวายเรื่องราว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเห็นสมควร
ประหารชีวิตอยู่ ก็คิดว่าต้องมีการประหารชีวิตจริง แต่ตนเองน่าจะไม่ถูกประหารชีวิต สามารถถวายคำาแนะนำาต่อพระมหากษัตริย์ขอให้พระราชทานอภัยโทษแก่นักโทษ
้
เพราะคิดว่าผู้ที่จะถูกประหารชีวิตคือนักโทษที่กระทำาผิดร้ายแรง ซำาซาก รายนั้นได้
อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการประหารชีวิตนักโทษรายหนึ่งเมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ทั้งนี้พบว่า ในการถวายเรื่องราวนั้นนักโทษประหารชีวิตทุกรายได้ทำาเอกสาร
๒๕๖๑ ทำาให้นักโทษประหารชีวิตมีความรู้สึกหดหู่ กลัว และเกิดความหวาดระแวง เพื่อถวายเรื่องราว ซึ่งส่วนปกครองในเรือนจำาจะให้คำาปรึกษาแก่นักโทษประหาร
หากพบว่าในวันใดที่มีผู้คุมเข้ามาในเรือนจำามากกว่าปกติ ชีวิตในการเขียนเรื่องราว รวมทั้งยังมีนักโทษรายอื่นๆ ในเรือนจำาที่ให้ความช่วยเหลือ
ในการดำาเนินการ
92 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 93