Page 93 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 93

ซึ่งเป็นนักโทษเด็ดขาด ผู้เสียหายจากการกระทำาผิดที่ผู้กระทำาผิดได้รับโทษ                   ๑.๒  ความคิด อารมณ์ ความรู้สึกของนักโทษประหารชีวิต

          ประหารชีวิต ครอบครัวของนักโทษประหารชีวิต และผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง          นักโทษประหารชีวิตเมื่อได้รับฟังคำาพิพากษาตัดสินประหารชีวิต ไม่ว่าเป็น
          ในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับนักโทษประหาร                                                 คำาพิพากษาศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ หรือศาลฎีกา พบว่า มีความรู้สึกตกใจ เสียใจ
                                                                                                                       ่
                                                                                               เกิดภาวะเครียด สภาพจิตใจยำาแย่ รู้สึกว่าตนเองหมดอนาคต เกิดความรู้สึก
                                                                                               เหมือนตนเองตายทั้งเป็น  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่ผู้กระทำายืนยันไม่ได้เป็น

                                                                                               ผู้กระทำาผิดนั้น ทำาให้เกิดความไม่เชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม ที่ตัดสินลงโทษ
                                  ๑.  สรุปผล                                                   ประหารชีวิตและหากมีการบังคับโทษก็จะเป็นการประหารชีวิตผู้บริสุทธิ์



               ๑.๑  การตกเป็นนักโทษประหารชีวิต                                                                 “ตอนนั้นรู้สึกเหมือนตายทั้งเป็น
                                                                                                                    อยากตาย รับไม่ได้”
               จากการศึกษาโดยการสัมภาษณ์นักโทษประหารชีวิตจำานวน ๒๐ ราย

          พบว่า  มีนักโทษที่ยอมรับว่าตนเองเป็นผู้กระทำาผิดจริงในคดีทั้งในคดีความผิด                                     นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๕, สัมภาษณ์, ๑๗ ธันวาคม ๒๕๖๑
          ต่อชีวิตและร่างกาย และคดียาเสพติด ซึ่งในระหว่างการดำาเนินคดีในชั้นศาลนั้น
          พวกเขาปฏิเสธการกระทำาผิด  หรือให้ข้อมูลไม่ตรงความจริงทั้งหมด ขณะที่พยาน

          หลักฐานชี้ให้เห็นการกระทำาผิดจริง จึงทำาให้ผลการพิพากษาลงโทษประหารชีวิต                                 “การปล่อยคนผิด ๑๐ คน
                                                                                                           ยังดีกว่าการประหารคนถูกเพียงคนเดียว”
               ขณะเดียวกัน  นักโทษประหารชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งให้ข้อมูลว่าไม่ได้เป็น
                                                                                                                        นักโทษประหารชาย กรณีที่ ๙, สัมภาษณ์, ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๑
          ผู้กระทำาผิดในคดี และไม่มีส่วนเกี่ยวข้องใดๆ ในคดีเลย เสมือนตนเองเป็น “แพะ”
          ในคดี และบางรายไม่ได้กระทำาผิดแต่อยู่ในเหตุการณ์ที่มีการจับกุมผู้กระทำาผิด
          ซึ่งกรณีเช่นนี้ส่วนใหญ่เป็นนักโทษในคดียาเสพติด  นอกจากนี้ยังมีกรณีที่ยืนยันว่า            บางรายมีอาการทางร่างกายร่วมด้วย เช่น ตัวสั่น ร้องไห้ ความดันโลหิตสูง

          ไม่ได้กระทำาผิด  รวมทั้งไม่อยู่ในขณะที่มีการจับกุม  แต่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ      หรือหมดสติไปตั้งแต่ได้รับฟังคำาพิพากษา ซึ่งอาการเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีระยะเวลา
          ผู้กระทำาผิด เช่น เป็นสามีภรรยา เป็นบุตรเขย หรือเพื่อนกับผู้กระทำาผิด ทั้งนี้พบว่า   ประมาณ ๓-๔ วัน  บางรายพบว่ามีการร้องไห้เป็นสัปดาห์  และในบางรายที่ไม่
                                                                                                                                              ่
          นักโทษในกลุ่มนี้ให้การปฏิเสธในการต่อสู้คดี เพื่อยืนยันความบริสุทธิ์ของตนเอง          สามารถยอมรับและปรับตัวได้นั้น  ต้องใช้ชีวิตในสภาพจิตใจยำาแย่ยาวนานเป็นปี
          จึงเป็นผลให้ได้รับการพิพากษาประหารชีวิตโดยไม่มีเหตุให้ลดโทษใดๆ                       ยิ่งในรายที่ยืนยันว่าตนเองไม่ได้เป็นผู้กระทำาผิดนั้น












          90                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     91
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98