Page 89 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 89

ไม่มีการเปิดรับฟังเหตุผลของการรณรงค์ให้ยกเลิกโทษประหารชีวิต  อีกทั้งยังอาจทำาให้     กระทำาผิดเป็นเพราะไม่เข้าใจข้อกฎหมายในเรื่องนี้ดีพอ  ขณะเดียวกันในส่วนที่คิดว่า

          มีการหาเหตุผลมาสนับสนุนเพิ่มเติม จนสามารถติดตัวและไม่สามารถเปลี่ยนแปลง               ตนเองไม่ได้กระทำาผิด หรือถูกใส่ร้าย ก็ยังมีอยู่บ้าง อย่างไรก็ตาม ในคดีที่มีการลงโทษ
          ความคิดได้ นอกจากนี้ยังควรมีการใช้บทลงโทษอื่นมาใช้ทดแทนโทษประหารชีวิต                ประหารชีวิตนั้น ในกระบวนพิจารณาคดีต้องปรากฏพยานหลักฐานที่ประจักษ์ชัดแจ้ง
          เช่น กรณีคดียาเสพติด อาจมีการใช้การยึดทรัพย์มาใช้มากขึ้น ทำาให้มีการไล่ติดตาม        (อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๑, ๒๕๖๒)

          ทรัพย์สินที่มาจากการกระทำาผิดซึ่งน่าจะส่งผลให้เกิดความหวาดกลัวต่อการกระทำาผิด             อนึ่งพบว่า แม้ในวันบังคับโทษประหารชีวิตแล้ว นักโทษประหารบางรายยังคง
          มากกว่า และควรยกเลิกบทสันนิษฐานเด็ดขาด หรือการปรับบทลงโทษให้กว้างขึ้น                ยืนยันว่าตนเองไม่ได้เป็นผู้กระทำาผิด ดังที่เคยมีข่าวคราวการกล่าวถึงนักโทษประหาร

          และสามารถพิจารณาจากพฤติการณ์ บทบาทในการกระทำาผิดได้ กล่าวคือ บทสันนิษฐาน             ชีวิตรายหนึ่ง (อดีตอนุศาสนาจารย์, ๒๕๖๒)
          เด็ดขาดเป็นการกำาหนดปริมาณยาและกำาหนดโทษ ซึ่งในการพิพากษาลงโทษนั้น
          ศาลต้องดำาเนินการตามที่กำาหนดไว้ โดยไม่จำาเป็นต้องพิจารณาถึงมูลเหตุจูงใจ                  ๔.๓  การทูลเกล้าฯ ถวายเรื่องราวขอพระราชทานอภัยโทษ

          หรือบริบทอื่นๆ                                                                            ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ได้กำาหนดให้การทูลเกล้าฯ ถวาย

                                                                                               ฎีกาขอพระราชทานอภัยโทษเป็นสิทธิของผู้ต้องโทษ ซึ่งหากไม่ประสงค์ที่จะทูลเกล้าฯ
                   “ถ้าครอบครองยาเสพติดจำานวนเท่าไรให้ถือว่า                                   ให้เป็นอำานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในการถวายแทน

                 เป็นการครอบครองเพื่อจำาหน่าย และบทลงโทษ คือ                                        อย่างไรก็ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กำาหนดไว้ในมาตรา
                            ตั้งแต่ ๒๐ ปี ถึงตลอดชีวิต                                         ๒๖๒ ที่กำาหนดให้มีการทุเลาการประหารไว้ในกรณีที่มีการขอพระราชทานอภัยโทษ
              และถ้าครอบครองเกินกว่าตามปริมาณที่กฎหมายกำาหนด                                   จนกว่าจะพ้นกำาหนด ๖๐ วัน ซึ่งจะปรากฏเห็นว่า ที่ผ่านมาตั้งแต่เดือนกรกฎาคม ๒๕๕๒

                 ให้มีโทษถึงประหารชีวิต ซึ่งบทสันนิษฐานเด็ดขาดนี้                              จนถึงมิถุนายน ๒๕๖๑ ไม่มีการบังคับโทษประหารชีวิตเลย เนื่องจากว่าแม้จะผ่านระยะ
                      จะทำาให้ศาลต้องระวางโทษตามที่กำาหนด                                      เวลาตามกำาหนดในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๖๐ วันไปแล้ว แต่ยังมี

                    จะไม่พิจารณามูลเหตุจูงใจ หรือบริบทอื่นๆ”                                   แนวความคิดและการปฏิบัติว่าควรชะลอโทษประหารชีวิตไว้ก่อน ตราบใดที่ยังไม่มี
                                 อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๒, สัมภาษณ์, ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๒     พระบรมราชโองการให้นำาตัวไปประหาร จึงมีการรอและไม่มีการประหารมาเลย

                                                                                                    ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าการบังคับโทษประหารชีวิตที่ผ่านมานั้น ไม่ได้มีการประหาร
               ๔.๒  การยอมรับผิดของนักโทษประหารชีวิต                                           ชีวิตนักโทษประหารทุกราย แต่รายที่มีการบังคับโทษต้องผ่านการสืบเสาะและ
               กรมราชทัณฑ์เคยมีการสำารวจความคิดเห็นผู้ต้องขังเกี่ยวกับการกระทำาความผิด         เห็นแล้วว่าเป็นผู้มีพฤติกรรมโหดร้าย ร้ายกาจ หรือเป็นคดีสะเทือนขวัญ

          ของตนเอง ซึ่งผลการศึกษาพบว่า ผู้ต้องขังมีการให้ข้อมูลว่าตนเองไม่ได้เป็นผู้กระทำาผิด
          ทั้งนี้ ด้วยเหตุผลจากการเข้าใจกฎหมายผิด กรณีคดียาเสพติด ที่ผู้ต้องขังเดินทางไปกับ                      “ประหารชีวิตไม่ได้โดนทุกคน
          ผู้ค้ายาเสพติดและโดนล่อซื้อ และถูกจับกุมพร้อมกัน ซึ่งผู้ต้องขังเข้าใจว่าตนเองไม่ได้                มีการเลือกโดยการสืบเสาะมาแล้วว่า

          กระทำาผิด ไม่มีส่วนรู้เห็นใดๆ กับการกระทำาผิด ลักษณะนี้เป็นการบอกว่าตนเองไม่ได้                มีพฤติกรรมโหดร้าย ร้ายกาจ สะเทือนขวัญ”
                                                                                                                      อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๒, สัมภาษณ์, ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๒

          86                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                    87
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94