Page 85 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 85
นอกจากนี้ในการดำาเนินการชั้นพนักงานสอบสวนนั้น บุตรชายไม่ได้รับอนุญาต
๓. ความคิด อารมณ์ ให้ประกันตัว เนื่องจากเจ้าพนักงานระบุว่า เขามีคดีโชกโชน ทั้งคดีเกี่ยวกับอาวุธ
และความรู้สึกของ ครอบครัว ปืน และคดียาเสพติด อย่างไรก็ตาม เธอมองว่ารายละเอียดคดีที่เกิดขึ้นที่ผ่านมา
นักโทษประหารชีวิต ไม่ใช่คดีที่ใหญ่หรือร้ายแรงจนเป็นเหตุให้ต้องห้ามประกันตัว เนื่องจากคดีอาวุธปืน
เป็นการมาจับในระหว่างการนอนพักผ่อน อีกทั้งคดียาเสพติดเป็นคดีเกี่ยวกับ
๓.๑ ความคิด ความรู้สึกต่อการประหารชีวิต การเสพกัญชา
เมื่อได้รับฟังคำาพิพากษาตัดสินคดีโทษประหารชีวิต มารดาของนักโทษ
ประหารชีวิตเห็นภาพบุตรชายนั่งลงและร้องไห้ และมีความกังวลว่าบุตรชายของเธอ “เขาบอกว่า หาเบี้ยเดินคดีให้ผมกัน
จะต้องได้รับบทลงโทษตามคำาพิพากษาหรือไม่ เธอจึงตั้งคำาถามกับบุตรชายของเธอ ผมไม่ใช่ทำานิ ผมไม่ใช่รู้จักที
ซึ่งบุตรชายได้บอกกับเธอว่า นักโทษประหารทั้งหมดมีหลายคน เขาคงจะไม่ถูก แต่ตำารวจเขาสลักหลังว่าห้ามประกัน
ประหาร เธอมีความเป็นห่วงบุตรชายจึงได้มีการติดต่อสอบถามเป็นระยะๆ แม้ว่าจะ คดีโชกโชนเรื่องปืน ที่จริงเขามาจับตอนลูกนอนอยู่
อยู่ห่างไกลกัน ทำาให้วันหนึ่งบุตรชายที่ย้ายเรือนจำาจึงเขียนจดหมายมาให้เธอคลายกังวล ไม่รู้มาได้ไง แล้วปืนก็อยู่ใต้ที่นอน ไม่ได้เอาออกไปทำาอะไรที่ไหน
กับคดียาเสพติด คือ เคยโดนตอนเป็นเยาวชนว่า
“เขาเขียนจดหมายมาบอกว่า ไม่ต้องเป็นห่วงนะ เสพกัญชา ไม่ใช่คดียาบ้า”
ผมไม่ได้ทำาไร ให้ส่งเอกสารมาจะเรียนต่อ” มารดาของนักโทษประหารชีวิต, สัมภาษณ์, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
มารดาของนักโทษประหารชีวิต, สัมภาษณ์, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
ทั้งนี้ ในการดำาเนินคดีต่อผู้กระทำาผิดในคดีดังกล่าว ได้มีการรายงาน
๓.๒ ความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม
จากเจ้าหน้าที่ตำารวจผู้รับผิดชอบคดีว่าผู้กระทำาผิดมีจำานวน ๒ คน หากแต่เมื่อได้มี
เนื่องจากบุตรชายซึ่งเป็นนักโทษประหารชีวิตบอกมารดามาตลอดว่า ไม่ได้ การจับกุมตัวบุตรชายแล้ว ก็ไม่ได้มีการดำาเนินการหาตัวผู้กระทำาผิดอีกคนมา
เป็นผู้กระทำาผิด อีกทั้งในการดำาเนินคดีกับบุตรชาย ซึ่งพบว่าในการจับกุมนักโทษ ดำาเนินคดีด้วย ซึ่งในกรณีดังกล่าวมารดาของนักโทษประหารชีวิตได้รับข้อมูล
ประหารชีวิตนั้น มีเจ้าหน้าที่ตำารวจจำานวนหลายนายควบคุมตัวบุตรชายมาจาก ข่าวสารว่า ผู้กระทำาผิดเป็นบุตรหลานของเจ้าหน้าที่ตำารวจ ซึ่งมีการให้ความ
บริเวณอื่นเพื่อมาตรวจค้นในบ้านพัก พบมีดพก (ขนาดเล็ก) ซึ่งบุตรชายพกติดตัว ช่วยเหลือกันไว้ ดังนั้น เมื่อจับกุมบุตรชายของเธอได้แล้ว จึงมีการดำาเนินคดีเขา
เป็นประจำา และได้รับรู้ว่าบุตรชายตกเป็นผู้ต้องสงสัยคดีฆ่าในวันดังกล่าว เธอได้รับทราบ เพียงคนเดียว เหล่านี้จึงส่งผลให้ความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมลดน้อยลง
(ในภายหลัง) ว่า ระหว่างการจับกุมตัวบุตรชายนั้นมีการใช้กำาลังของพนักงานเจ้าหน้าที่
โดยการเหยียบตัวเขา อย่างไรก็ตาม มารดาของนักโทษประหารชีวิตทราบว่ามีดพก
ของบุตรชาย ซึ่งเป็นมีดพกขนาดเล็กนั้นไม่ตรงกับผลการชันสูตรพลิกศพของผู้เสียชีวิต
ซึ่งมีขนาดใหญ่กว่ามีดพกของบุตรชายมาก
82 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 83