Page 86 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 86
๔. ความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่
ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน
ที่เกี่ยวเนื่องกับนักโทษประหาร
๓.๓ การให้นักโทษประหารชีวิตติดต่อกับครอบครัวก่อนบังคับโทษ ๔.๑ ความคิดเห็นต่อการยกเลิกโทษประหารชีวิต
กรมราชทัณฑ์ได้อนุญาตนักโทษประหารชีวิตติดต่อครอบครัวได้ โดยบุตรชาย การยกเลิกโทษประหารชีวิตในประเทศไทยต้องขึ้นอยู่กับการออกแบบระบบ
ได้โทรศัพท์ติดต่อแต่ไม่สามารถติดต่อเธอได้ จึงได้โทรศัพท์ติดต่อไปยังภรรยาเก่า เช่น การเปลี่ยนโทษประหารชีวิตให้เป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต โดยไม่มีการลดโทษ
และบุตรสาวของเขาเพื่อแจ้งข่าวและสั่งเสียก่อนถูกประหารชีวิต และภายหลัง ซึ่งแม้ว่าจะมีการอภัยโทษก็ตาม ขึ้นอยู่กับว่า จะมีการออกพระราชกฤษฎีกาเช่นไร จะเห็นได้ว่า
เธอจึงได้รับทราบข่าวจากผู้อื่นว่า บุตรชายถูกนำาตัวไปประหารชีวิตแล้ว ซึ่งเธอได้ พระราชกฤษฎีกาอภัยโทษในช่วงหลังที่ออกมา มีการจำากัดสิทธินักโทษบางประเภท
ทราบข่าวจากอดีตลูกสะใภ้ว่า ได้รับการติดต่อจากบุตรชายก่อนที่จะประหารชีวิต มากขึ้น เช่น ไม่ครอบคลุมถึงนักโทษคดีข่มขืน หรือนักโทษคดียาเสพติดร้ายแรงที่มี
และเขายังได้พูดคุยกับบุตรสาวของเขาด้วย โทษจำาคุกเกิน ๘ ปี อนึ่ง หากกล่าวถึงการยกเลิกโทษประหารชีวิตของไทยก็พบว่า ได้มีการ
่
ยกเลิกไปในคดีผู้กระทำาผิดอายุตำากว่า ๑๘ ปี ซึ่งเป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นได้ว่าการยกเลิก
“เขาโทรมา ไม่ได้รับโทรศัพท์ โทษประหารชีวิตโดยการแก้ไขกฎหมาย ซึ่งที่ผ่านมาการแก้ไขกฎหมายนี้เป็นผลมาจาก
พยายามหาเบอร์โทรกลับก็ไม่ทัน หมดเวลาแล้ว... แรงกดดันจากต่างประเทศ (อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๑, ๒๕๖๒)
จนคนโทรมาบอกว่า โดนประหารแล้วนะ... ทั้งนี้ ความเป็นไปได้ในการยกเลิกโทษประหารชีวิตนั้นมีความเป็นได้
เขาได้โทรหาแฟนคนแรกเขาบอกว่า เขาผิดไปแล้วที่มีคนอื่น เนื่องจากกระแสสากลในเรื่องดังกล่าว อีกทั้งยังต้องเป็นการดำาเนินการโดยรัฐ ซึ่งต้อง
และได้คุยกับลูกจากแฟนคนแรกของเขาด้วย” ดำาเนินการแบบเป็นลำาดับขั้น ซึ่งเห็นพัฒนาการได้จากการเปลี่ยนวิธีการลงโทษ
มารดาของนักโทษประหารชีวิต, สัมภาษณ์, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ จากการยิงเป้าไปสู่การฉีดยาเป็นการลดระดับของความรุนแรงของการประหาร
ไปลำาดับหนึ่ง และได้มีการขับเคลื่อนของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพที่กำาหนด
แผนในการยกเลิกโทษประหารชีวิตไว้ ทั้งนี้ ในการดำาเนินการเพื่อการยกเลิกโทษ
ประหารชีวิตนั้น รัฐต้องหามาตรการในการจัดการกับอาชญากรรมที่รุนแรงเพื่อที่
จะลดเสียงคัดค้านของประชาชนให้ลดลง เพราะโทษประหารชีวิตเป็นเรื่องปลายเหตุ
(อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๑, ๒๕๖๒)
ซึ่งในการยกเลิกโทษประหารชีวิตนั้น ควรมีการรณรงค์ให้ความรู้เกี่ยวกับโทษ
ของการประหารชีวิตอย่างต่อเนื่อง แต่ต้องพิจารณาช่วงเวลาให้เหมาะสม เนื่องจาก
หากมีการรณรงค์ในระหว่างที่กระแสการใช้โทษประหารชีวิตอย่างรุนแรง อาจทำาให้
84 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 85