Page 80 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 80
๒. ความคิด อารมณ์
และความรู้สึกของ ผู้เสียหาย จากคดี
ขณะเดียวกันนักโทษประหารชีวิตหญิงหลายรายจะใช้วิชาความรู้ที่ได้ ที่ผู้กระทำ ผิดได้รับโทษประหารชีวิต
เรียนรู้ขณะที่ต้องโทษในเรือนจำาไปประกอบอาชีพหากได้รับการปล่อยตัว เช่น
การตัดเย็บเสื้อผ้า ซึ่งในรายที่ยอมรับว่าเป็นผู้กระทำาความผิดจริงยังมีแนวคิดว่า
หากได้รับโอกาสได้รับการปล่อยตัวออกไป จะไม่ทำาธุรกิจผิดกฎหมายอีก และจะ ๒.๑ อารมณ์และความรู้สึกภายหลังตกเป็นผู้เสียหาย
สร้างตัวให้มีเหมือนเมื่อครั้งก่อนรับโทษให้ได้ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เสียหายซึ่งเป็นบิดาและมารดาของ
ผู้เสียชีวิต ในคดีที่ผู้กระทำาผิดได้รับคำาพิพากษาตัดสินลงโทษลงโทษประหารชีวิตนั้น
“เย็บผ้าเป็น จะออกไปข้างนอกรับจ้างเย็บผ้า พบว่า บิดาและมารดาของผู้เสียชีวิตมีความเศร้าเสียใจในการสูญเสียบุตรชาย
อยู่กับแม่ไม่ไปไหนแล้ว...ขออย่างเดียวให้เขา [แม่] รอหนูก็พอ” เป็นอย่างมาก จวบจนปัจจุบันก็ยังคงมีความเศร้า และติดตามคดีอย่างใกล้ชิด
นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๕, สัมภาษณ์, ๓ ธันวาคม ๒๕๖๑
“ไม่ได้ทำาไรเลยหลังจากทำาคดีนี้ ทำาใจไม่ได้”
ผู้เสียหายจากการกระทำาผิด, สัมภาษณ์, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
“หนูจะต้องยิ่งใหญ่กว่าเดิม
มีทุกสิ่งทุกอย่างเหมือนเดิม
แต่ไม่เอาสีเทาแล้ว ๒.๒ ความคิดเห็นที่มีต่อการตัดสินลงโทษประหารชีวิตผู้กระทำาผิด
จะเก็บเงินไปค้าขายที่บ้าน จากกรณีที่บุตรชายของผู้เสียหายเสียชีวิต และได้มีการดำาเนินคดี จวบจน
จะทำาความดีแม้จะช้าแต่ก็จะรวย” กระทั่งสามารถจับกุมผู้กระทำาผิดในคดี มีคำาพิพากษาตัดสินลงโทษประหารชีวิต
นักโทษประหารหญิง กรณีที่ ๑๐, สัมภาษณ์, ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ และบังคับโทษไปแล้วนั้น ผู้เสียหายมีความเห็นว่าเป็นการสมควรแล้วที่ผู้กระทำาผิด
ถูกประหารชีวิต แม้จะได้รับทราบข้อมูลว่า ผู้กระทำาผิดไม่เคยยอมรับว่าตนเอง
เป็นผู้กระทำาผิด แต่ผู้เสียหายมีความคิดเห็นว่า หากไม่ได้เป็นคนกระทำา เหตุใดจึง
ไม่บอกว่าใครเป็นคนกระทำา
“ผมอโหสิให้เขา แต่ก็สมควรแล้วที่ต้องประหาร
ถ้าบอกว่า ไม่ได้ทำา ทำาไมไม่ซัดทอดใคร
ไม่ซัดทอดให้ถึงเพื่อน ตัวเองจะได้รอด”
ผู้เสียหายจากการกระทำาผิด, สัมภาษณ์, ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
78 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 79