Page 28 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 28

เงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจำากัดสิทธิหรือ  ยกระดับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนภายในประเทศให้สอดคล้องกับมาตรฐาน

          เสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ และจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคล         สิทธิมนุษยชนสากล โดยกำาหนดขั้นตอนการดำาเนินการดังนี้
          มิได้ รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจำาเป็นในการจำากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย                        ๑)  เผยแพร่ให้ความรู้ด้านกฎหมายสิทธิมนุษยชนแก่บุคลากรในกระบวน
                    มาตรา ๒๘ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย                       การยุติธรรม และประชาชน โดยเฉพาะแนวคิดเรื่องศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และสิทธิ

                    การจับและการคุมขังบุคคลจะกระทำามิได้ เว้นแต่มีคำาสั่งหรือหมายของ           ในการมีชีวิตซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน
          ศาลหรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ                                                      ๒)  พยายามดำาเนินการเพื่อประกาศพักการประหารชีวิตในทางปฏิบัติ

                    การค้นตัวบุคคลหรือการกระทำาใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพ           อย่างเป็นทางการทันที และสนับสนุนมติพักการใช้โทษประหารชีวิตของที่ประชุม
          ในชีวิตหรือร่างกายจะกระทำามิได้ เว้นแต่มีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ                     สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติโดยมีเจตจำานงที่จะออกกฎหมายให้เปลี่ยนแปลงโทษ
                    การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือ                      ประหารชีวิตในท้ายที่สุด ปี พ.ศ. ๒๕๕๗

          ไร้มนุษยธรรมจะกระทำามิได้                                                                      ๓)  เสนอแก้ไขกฎหมายเพื่อลดจำานวนความผิดทางอาญาที่มีบทลงโทษ
                                                                                               ประหารชีวิต โดยเฉพาะอาชญากรรมที่ไม่ถือเป็นอาชญากรรมอุกฉกรรจ์ที่สุด ตาม
               ๑.๖  แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                    ประเทศไทยได้กำาหนดแนวทางเพื่อกำาหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการ                  ข้อบทที่ ๖ วรรคสอง ของกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ

          ด้านสิทธิมนุษยชน โดยมีคำาสั่งสำานักนายกรัฐมนตรี ที่ ๑๒๕/๒๕๔๑ เรื่อง แต่งตั้ง         ทางการเมือง เช่น ความผิดเกี่ยวกับการวางเพลิง การก่อการร้าย ภายในปี พ.ศ.  ๒๕๖๐
          คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการจัดทำานโยบายและแผนปฏิบัติการแม่บทด้าน                    (ในขณะนั้นกฎหมายไทยที่ยังคงมีบทลงโทษประหารชีวิต มีทั้งหมด ๕๕ ฐานความผิด)

          สิทธิมนุษยชน ลงวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๔๑ และได้มีนโยบายและแผนปฏิบัติการแม่บท                       ๔)  ลงนามและให้สัตยาบันรับรองพิธีสารเลือกรับ ฉบับที่ ๒ ของ
          แห่งชาติด้านสิทธิมนุษยชน (แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๑) ขึ้น และจากนั้น         กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองเรื่องมุ่งยกเลิกโทษ
          ได้มีการจัดทำาแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๕๖) โดยมีการ          ประหารชีวิต ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๑

          กำาหนดกลยุทธ์หลัก ในการปรับปรุงกฎหมายและกลไกทางกฎหมาย รวมทั้งการบังคับใช้                       ๕)  สร้างเรือนจำาความมั่นคงสูงเพื่อรองรับนักโทษประเภทคดีอุกฉกรรจ์
          กฎหมาย เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน                 ในขณะนี้อยู่ระหว่างการร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ ยังคงบรรจุ

          ซึ่งปรากฏตัวชี้วัดหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารชีวิต โดยกำาหนดว่า กฎหมายที่มีอัตรา  ประเด็นปัญหาในแผนสิทธิมนุษยชนด้านกระบวนการยุติธรรมที่พบว่ากฎหมายไทยที่
          โทษประหารชีวิตเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาให้มีการยกเลิกให้เป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต      ยังคงมีโทษประหารชีวิตอาจขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชน จึงมีข้อเสนอเรื่องการทบทวน
                    แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) ปรากฏใน               การใช้โทษประหารชีวิต และพิจารณาปรับแก้ไขฐานความผิดที่กำาหนดโทษประหารชีวิต

          แผนด้านกระบวนการยุติธรรมที่กล่าวถึงกฎหมายอาญาของไทยที่กำาหนดโทษประหาร                บางฐานความผิดหรือทุกฐานความผิด
          ชีวิตเป็นโทษสูงสุด ซึ่งถือว่าเป็นโทษที่ขัดกับหลักสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานในด้านสิทธิ       จะเห็นได้ว่าประเทศไทยให้ความสำาคัญกับการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ทั้งใน
          ของการมีชีวิตอยู่ ซึ่งได้มีข้อเสนอแนะในเชิงปฏิบัติการให้เปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต    ภาพของการเข้าร่วมเป็นภาคีในปฏิญญา และกติการะหว่างประเทศ รวมทั้งการบัญญัติ

          ให้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเป็นโทษจำาคุกตลอดชีวิต เพื่อสานต่อวัตถุประสงค์ในการ     กฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาญาจักรไทย รวมทั้ง


          26                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                    27
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33