Page 24 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 24
๑.๑ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration ในการทำาลายสิทธิและเสรีภาพประการใดที่รับรองไว้ในกติกานี้ หรือเป็นการจำากัด
of Human Rights : UDHR) สิทธินั้นยิ่งไปกว่าที่ได้บัญญัติไว้ในกติกานี้
ที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติได้ให้การรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วย ๒. จะต้องไม่มีการจำากัดหรือเลี่ยงสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานที่ได้รับการ
สิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of Human Rights : UDHR) ตามข้อมติที่ รับรอง หรือที่มีอยู่ในรัฐภาคีใดในกติกานี้ซึ่งเป็นไปตามกฎหมาย อนุสัญญา กฎระเบียบ
๒๑๗A (III) โดยประเทศไทย ได้ออกเสียงสนับสนุนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน หรือจารีตประเพณี โดยอ้างว่ากติกานี้ไม่รับรองสิทธิเช่นว่านั้น หรือรับรองสิทธินั้น
เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ค.ศ. ๑๙๔๘ ซึ่งถือเป็นการประกาศเจตนารมณ์ในการรับรอง ในระดับที่ด้อยกว่า
สิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ข้อ ๖
ข้อปฏิญญาที่เกี่ยวข้องกับโทษประหารชีวิต ประกอบด้วย ๑. มนุษย์ทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตมาแต่กำาเนิด สิทธินี้ต้องได้รับการ
ข้อ ๑ มนุษย์ทั้งปวงเกิดมามีอิสระและ เสมอภาคกันในศักดิ์ศรีและสิทธิ คุ้มครองโดยกฎหมายบุคคลจะต้องไม่ถูกทำาให้เสียชีวิตโดยอำาเภอใจ
ต่างในตนมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยจิตวิญญาณแห่งภราดรภาพ ๒. ในประเทศที่ยังมิได้ยกเลิกโทษประหารชีวิต การลงโทษประหารชีวิต
ข้อ ๓ ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิต เสรีภาพ และความมั่นคงแห่งบุคคล อาจกระทำาได้เฉพาะคดีอุกฉกรรจ์ที่สุดตามกฎหมายที่ใช้บังคับในขณะกระทำา
ข้อ ๕ บุคคลใดจะถูกกระทำาการทรมานหรือ การปฏิบัติหรือการลงโทษ ความผิด และไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งกติกานี้ และต่ออนุสัญญาว่าด้วยการป้องกัน
่
ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรมหรือยำายีศักดิ์ศรีไม่ได้ และการลงโทษอาชญากรรมล้างเผ่าพันธุ์ การลงโทษเช่นว่านี้จะกระทำาได้ก็แต่โดย
คำาพิพากษาถึงที่สุดของศาลที่มีอำานาจ
๑.๒ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
(International Covenant on Civil and Political Rights : ๓. ในกรณีที่การทำาให้เสียชีวิตมีลักษณะเป็นอาชญากรรมล้างเผ่าพันธุ์
ICCPR) ย่อมเป็นที่เข้าใจว่าข้อบทที่นี้ มิได้ให้อำานาจรัฐภาคีใดแห่งกติกานี้ในอันที่จะเลี่ยงจาก
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้รับรองกติการะหว่างประเทศว่าด้วย พันธกรณีใดที่มีตามบทบัญญัติแห่งอนุสัญญาว่าด้วยการป้องกันและการลงโทษอาชญากรรม
สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political ล้างเผ่าพันธุ์
Rights : ICCPR) เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๐๙ โดยประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคี ICCPR ๔. บุคคลใดต้องคำาพิพากษาประหารชีวิต ย่อมมีสิทธิขออภัยโทษหรือ
โดยการภาคยานุวัติ เมื่อวันที่ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๓๙ และมีผลบังคับใช้กับประเทศไทย ลดหย่อนผ่อนโทษตามคำาพิพากษา การนิรโทษกรรม การอภัยโทษ หรือการลดหย่อน
เมื่อวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๐ ซึ่งปรากฏกติกาที่เกี่ยวข้องกับสิทธิในการมีชีวิต ดังนี้ ผ่อนโทษตามคำาพิพากษาประหารชีวิตอาจให้ได้ในทุกกรณี
่
ข้อ ๓ รัฐภาคีแห่งกติกานี้รับที่จะประกันสิทธิอันเท่าเทียมกันของบุรุษและ ๕. บุคคลอายุตำากว่า ๑๘ ปี ที่กระทำาความผิดจะถูกพิพากษาประหาร
สตรี ในการที่จะอุปโภคสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมืองทั้งปวงดังที่ได้ระบุไว้ในกติกานี้ ชีวิตมิได้ และจะดำาเนินการประหารชีวิตสตรีขณะมีครรภ์ไม่ได้
ข้อ ๕ ๖. รัฐภาคีใดแห่งกติกานี้จะยกข้อบทนี้ขึ้นอ้างเพื่อประวิง หรือขัดขวาง
๑. ไม่มีความใดในกติกานี้ที่อาจนำาไปตีความไปในทางที่จะให้รัฐใด กลุ่ม การยกเลิกโทษประหารชีวิตมิได้
หรือบุคคลใดได้สิทธิที่จะเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรม หรือกระทำาการใดอันมีจุดมุ่งหมาย ข้อ ๗ บุคคลจะถูกทรมาน หรือได้รับการปฏิบัติ หรือการลงโทษที่โหดร้าย
22 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 23