Page 31 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 31
การบรรจุประเด็นปัญหาด้านกระบวนการยุติธรรม อย่างไรก็ตามยังพบว่า ในส่วนของ อย่างไรก็ตาม พบว่า การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน มีข้อด้อย
การยกเลิกโทษประหารชีวิตนั้น ประเทศไทยยังไม่ได้เข้าร่วมเป็นภาคีพิธีสาร หลายประการ คือ
้
เลือกรับฉบับที่สอง แห่งกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิ ๑) เป็นการลงโทษที่ไม่ได้มีผลต่อการป้องกันการกระทำาผิดซำา
ทางการเมืองซึ่งเป็นพิธีสารเลือกรับที่ให้ความมุ่งเน้นในการยกเลิกโทษประหารชีวิต ๒) เป็นการลงโทษที่ไม่ได้คำานึงถึงความจำาเป็นของสังคม หากวันหนึ่ง
ที่จะเป็นกลไกสำาคัญในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในการมีชีวิตของไทย ได้รับการปล่อยตัวออกมาก็ยังคงเป็นอันตรายต่อสังคมได้ เช่น การตัดมือกรณีผู้กระทำา
ผิดลักทรัพย์ จะเห็นได้ว่า สังคมไม่ได้อะไรจากการลงโทษตัดมือ อีกทั้งยังมีผู้พิการ
เพิ่มขึ้นในสังคมเช่นกัน
๓) เป็นการกำาหนดโทษที่ยากในการวัดความรุนแรงของโทษให้มี
๒. แนวคิดเกี่ยวกับโทษประหารชีวิต ความเท่ากัน เนื่องจากยังไม่สามารถมีมาตรการใดที่จะลงโทษให้ได้สัดส่วน จึงก่อให้
เกิดปัญหาว่า ผู้กระทำาผิดถูกลงโทษอย่างยุติธรรมหรือผู้เสียหายได้รับการตอบแทน
๒.๑ แนวคิดเกี่ยวกับการลงโทษ ที่ยุติธรรมหรือไม่
การลงโทษเป็นวิธีการบังคับที่รัฐใช้ปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดอาญา ซึ่งประกอบด้วย ๒.๑.๒ การลงโทษเพื่อข่มขวัญยับยั้ง (Deterrence)
ลักษณะสำาคัญ คือ ๑) โทษต้องเป็นไปตามกฎหมาย ๒) โทษต้องเป็นไปโดยเสมอภาค การลงโทษเพื่อข่มขวัญยับยั้งมีความเชื่อว่า การกระทำาผิดเกิดจากคน
๓) โทษต้องมีลักษณะเป็นการเฉพาะตัวของบุคคล (จิตติ ติงศภัทิย์, ๒๕๓๖) ไม่เกรงกลัวกฎหมายหรือการบังคับใช้กฎหมายอ่อนแอ และมนุษย์มีเหตุผลและเจตจำานง
การกระทำาผิดที่เกิดขึ้นในสังคมใดๆ นั้น พบว่า แต่ละสังคมย่อมเสาะแสวงหา อิสระ ที่จะเลือกกระทำาหรือไม่กระทำาใดๆ ก็ได้ การกระทำาความผิดจึงเกิดจากการเลือก
วิธีการเพื่อจัดการกับผู้กระทำาผิด ซึ่งวิธีการจัดการในแต่ละสังคมหรือยุคสมัยย่อม กระทำาของตัวผู้กระทำาผิดเองที่เห็นว่าผลของการกระทำาผิดจะได้ประโยชน์มากกว่า
แตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ในการลงโทษผู้กระทำาผิด ซึ่งสามารถสรุปวัตถุประสงค์ จึงกล้าเสี่ยงที่จะกระทำาผิด ดังนั้น การลงโทษจึงควรมีขึ้นเพื่อป้องกันการกระทำาผิด
ของการลงโทษได้ ดังนี้ (นัทธี จิตสว่าง, ๒๕๕๔) โดยลงโทษให้ผู้กระทำาผิดเห็นว่าผลของการกระทำาผิดก่อให้เกิดความเจ็บปวดและ
๒.๑.๑ การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน (Retribution) ไม่เกิดผลดีขึ้นเลย กล่าวคือ ทำาให้ผู้กระทำาผิดเห็นว่าเมื่อกระทำาผิดไปแล้วได้รับผล
การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนเป็นการลงโทษที่มีความเชื่อว่า ผู้กระทำาผิด เจ็บปวดมากกว่าได้รับความพอใจ จะส่งผลให้เกิดการหลีกเลี่ยงการกระทำาผิดนั่นเอง
เป็นผู้ที่มีความชั่วร้าย ดังนั้น การลงโทษจึงต้องให้สาสมกับความชั่วร้ายนั้น จึงกำาหนด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะมีรูปแบบการลงโทษด้วยการจำาคุก (นัทธี จิตสว่าง, ๒๕๕๔)
รูปแบบการลงโทษให้มีความรุนแรง ป่าเถื่อน ซึ่งเป็นการลงโทษที่สอดคล้องกับ การลงโทษเพื่อให้เกิดการข่มขวัญยับยั้งได้นั้น เรย์ เจฟฟอรีย์ (นัทธี
ความรู้สึกของผู้เสียหายและประชาชนที่ได้รับรู้การกระทำาผิดที่ต้องการเห็นผู้กระทำาผิด จิตสว่าง, ๒๕๕๔) กล่าวไว้ว่าจะต้องดำาเนินการอย่างแน่นอน รวดเร็ว เสมอภาค และ
ได้รับการลงโทษที่สาสมกับการกระทำาผิด หรือความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผู้เสียหาย มีโทษที่เหมาะสม สามารถอธิบายได้ ดังนี้
ตามหลัก “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน” ๑) การลงโทษต้องมีความแน่นอน คือ เมื่อเกิดเหตุการณ์กระทำาผิดแล้ว
ผู้กระทำาผิดจะรอดพ้นจากการจับกุมไปได้ยาก เพื่อส่งผลในการยับยั้งการกระทำาผิดที่
28 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 29