Page 32 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 32
ทำาให้บุคคลทั่วไปและผู้กระทำาผิดเกิดความเกรงกลัว ไม่กล้าเสี่ยงที่จะกระทำาผิด ๒.๑.๔ การลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟู (Rehabilitation)
๒) การลงโทษต้องกระทำาอย่างรวดเร็ว เพื่อให้เห็นผลของการกระทำาผิด การลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟู เชื่อว่า มนุษย์ไม่สามารถเลือกกระทำาได้อย่าง
ได้อย่างทันที จึงจะทำาให้ผู้กระทำาผิดและบุคคลทั่วไปเห็นผลร้ายของการกระทำาผิด อิสระ แต่ถูกกดดันหล่อหลอมจากสิ่งแวดล้อมและปัจจัยต่างๆ จนมีบุคลิกภาพที่บกพร่อง
๓) การลงโทษต้องมีความเสมอภาค กล่าวคือ ผู้ที่กระทำาผิดจะต้อง และเกิดการกระทำาผิด ดังนั้น การกระทำาผิดจึงเกิดจากปัจจัยหลายอย่างร่วมกัน ซึ่งอาจ
ได้รับการลงโทษโดยเท่าเทียมกัน ไม่เกิดการเลือกปฏิบัติ ซึ่งจะทำาให้ผู้กระทำาผิดไม่มี แตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล การลงโทษจึงไม่ควรมุ่งเน้นที่การกระทำาความผิดเป็นหลัก
ช่องทางหลีกเลี่ยงในการถูกลงโทษ แต่ควรพิจารณาจากสาเหตุในการกระทำาผิด และแก้ไขที่สาเหตุนั้นๆ
๔) การลงโทษต้องมีบทลงโทษที่เหมาะสม กล่าวคือ หากบทลงโทษ การลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟู จึงมุ่งเน้นไปที่ตัวผู้กระทำาผิดแต่ละบุคคล
เบาเกินไปไม่ได้สัดส่วนกับการกระทำาผิด จะทำาให้ผู้กระทำาผิดและบุคคลทั่วไปไม่ เพื่อหาสาเหตุการกระทำาผิดและแนวทางแก้ไข ระยะเวลาของการลงโทษจึงขึ้นอยู่กับ
เกรงกลัว และกล้าที่จะเสี่ยงในการกระทำาผิด ขณะเดียวกัน หากบทลงโทษรุนแรง ความสามารถของผู้กระทำาผิดในการแก้ไขตนเอง เช่น ผู้กระทำาผิดคดีฆ่าอาจมีระยะ
้
เกินไป ก็จะทำาให้ผู้กระทำาผิดพยายามปกปิดการกระทำาผิดของตนเอง ซึ่งอาจส่งผล เวลาในการจำาคุกน้อยกว่าคดีลักทรัพย์ที่มีการกระทำาผิดซำา ถ้าผู้กระทำาผิดคดีฆ่าสำานึก
้
ให้เหยื่อได้รับผลร้ายมากขึ้น และปรับพฤติกรรมรวมทั้งมีแนวโน้มว่าจะไม่กระทำาผิดซำาอีก
การลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟู จึงเป็นแนวคิดแห่งการให้โอกาส ทั้งการ
๒.๑.๓ การลงโทษเพื่อตัดโอกาสกระทำาผิด (Incapacitation) ให้โอกาสกลับตัว การแก้ไขปรับปรุงตนเอง โดยมีความพยายามไม่ให้ผู้กระทำาผิด
การลงโทษเพื่อตัดโอกาสการกระทำาผิด มีหลักการสำาคัญที่ว่า การกระทำาผิด ต้องถูกลงโทษในรูปแบบที่จะทำาลายคุณลักษณะหรือศักยภาพในการกลับเข้าสู่สังคม
จะไม่เกิดขึ้นเมื่อไม่มีผู้กระทำาผิดหรือโอกาสในการกระทำาผิด ดังนั้น การลงโทษจึง จึงใช้มาตรการต่างๆ ในการเลี่ยงการจำาคุก เช่น การรอการลงโทษจำาคุก โดยใช้การ
ต้องตัดโอกาสในการกระทำาผิดนั้นเสีย ซึ่งวัตถุประสงค์ของการลงโทษแบบนี้มุ่งการ คุมประพฤติ การใช้โทษปรับ หรือมาตรการในชุมชนอื่นๆ นอกจากนี้ หากจำาเป็นต้อง
ป้องกันอาชญากรรมเช่นเดียวกันกับการลงโทษเพื่อข่มขวัญยับยั้ง หากแต่มิได้มุ่งเพื่อให้ ได้รับโทษจำาคุกก็จะมีมาตรการอื่น เช่น การพักการลงโทษ การลดวันต้องโทษ เพื่อที่จะ
ผู้กระทำาผิดหรือบุคคลทั่วไปเกิดการเกรงกลัวไม่กระทำาผิดอีก แต่เป็นลงโทษเพื่อตัด ให้อยู่เรือนจำาให้น้อยที่สุด และได้รับผลกระทบน้อยที่สุดเช่นกัน
้
โอกาสในการกระทำาผิดซำา เช่น การเนรเทศผู้กระทำาผิดออกไปจากสังคม การตัดมือ จะเห็นได้ว่า ในปัจจุบันได้มีการใช้การลงโทษตามวัตถุประสงค์ใน
เพื่อให้ไม่สามารถกระทำาการลักขโมยได้อีก การประหารชีวิตที่ทำาให้ผู้กระทำาผิด การลงโทษทั้งสี่ประการข้างต้นผสมผสานกัน ซึ่งเป็นการมุ่งเน้นในการแก้ไขฟื้นฟู
ออกไปจากสังคมเช่นกัน เสียมากกว่าการแก้แค้นทดแทน หากแต่ยังคงมีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนอยู่
การลงโทษที่ใช้กันแพร่หลาย คือ การจำาคุก ซึ่งเป็นการตัดผู้กระทำาผิด เพื่อตอบสนองความรู้สึกของประชาชนหรือผู้เสียหายในกรณีที่อาชญากรรมนั้น
ออกไปจากสังคม เพื่อมุ่งให้สังคมปลอดภัย อย่างไรก็ตาม พบว่า การลงโทษจำาคุกเป็น มีความรุนแรง สะเทือนขวัญ อีกทั้งในการลงโทษยังคงมีเป้าหมายเพื่อข่มขู่ยับยั้ง
การตัดผู้กระทำาผิดออกจากสังคมไปเพียงชั่วคราวเท่านั้น เนื่องจากสุดท้ายแล้ว ไม่ให้มีการกระทำาความผิด และตัดผู้กระทำาผิดออกจากสังคมในระยะหนึ่ง
ผู้กระทำาผิดก็ยังคงกลับมาใช้ชีวิตในสังคม และเมื่อกลับมาแล้วอาจมีความโกรธแค้น
้
จากการรับโทษหรือการปรับตัวในสังคม ซึ่งอาจส่งผลให้มีการกระทำาผิดซำาได้
30 รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต 31