Page 20 - รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต
P. 20

๓.๒  ขอบเขตด้านประชากร                                                                    ๔) ครอบครัวของนักโทษประหารชีวิต จำานวน ๑ ราย สัมภาษณ์ใน
                    ประชากรที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้ ประกอบด้วย                                            วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒

                    ๑)  นักโทษประหารที่เคยได้รับคำาพิพากษาตัดสินลงโทษประหารชีวิต                         ๕) ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับนักโทษประหาร
          จากศาลฎีกา ซึ่งหมายรวมถึงนักโทษประหารที่รอการประหารในเรือนจำา                                     จำานวน ๓ ราย ดังนี้
                    ๒)  ผู้ได้รับผลกระทบจากการกระทำาผิดที่ผู้กระทำาผิดได้รับโทษประหาร                       ๕.๑)  อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๑ สัมภาษณ์ในวันที่ ๕ มีนาคม

          ชีวิต                                                                                                  ๒๕๖๒
                    ๓)  ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับนักโทษ                  ๕.๒)  อดีตอธิบดีกรมราชทัณฑ์ กรณีที่ ๒ สัมภาษณ์ในวันที่ ๑๑ มีนาคม

          ประหาร                                                                                                 ๒๕๖๒

               ๓.๓ ขอบเขตด้านพื้นที่                                                                        ๕.๓)  อดีตอนุศาสนาจารย์ เรือนจำากลางบางขวาง
                                                                                                                 สัมภาษณ์ในวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๒
                    การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาเฉพาะนักโทษประหาร ผู้เสียหาย ตลอดจนผู้ที่
          เกี่ยวข้องกับนักโทษประหารชีวิตในประเทศไทย                                                         ๕.๔)  สังเคราะห์และวิเคราะห์ข้อมูล
                                                                                                            ๕.๕)  จัดทำารายงานการศึกษาวิจัย


                              ๔. วิธีการดำ เนินการ
                                                                                                                   ๕. ระยะเวลาดำ เนินการ


               ๔.๑  ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการประหารชีวิต และนักโทษ                           การศึกษาวิจัยครั้งนี้ใช้ระยะเวลาดำาเนินการศึกษาวิจัย เป็นเวลา ๕ เดือน คือ
          ประหารในประเทศไทย                                                                    ตั้งแต่พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ถึง มีนาคม ๒๕๖๒  ดำาเนินการโดย นางสาวเกศริน  เตียวสกุล

               ๔.๒  เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำาคัญ                          ผู้อำานวยการสำานักกฎหมาย สำานักงาน กสม. และนางสาววิชชุตา อิสรานุวรรธน์ นักวิจัยอิสระ
                    ซึ่งประกอบด้วย

                    ๑) นักโทษประหารชีวิตชาย จำานวน ๑๐ ราย สัมภาษณ์ในระหว่าง
                       วันที่ ๑๗ – ๑๘ ธันวาคม ๒๕๖๑

                    ๒) นักโทษประหารชีวิตหญิง จำานวน ๑๐ ราย สัมภาษณ์ในระหว่าง
                       วันที่ ๓ - ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑
                    ๓) ผู้เสียหายจากการกระทำาผิดที่ผู้กระทำาผิดได้รับโทษประหารชีวิต

                       จำานวน ๑ ราย สัมภาษณ์ในวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒





          18                                     รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต       รายงานผลการศึกษาข้อมูลนักโทษประหารชีวิต                     19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25